ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จู ซี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Espeerasin (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
จูซีเป็นลูกศิษย์รุ่นที่สามของเฉิงฮ่าวและเฉิงอี๋ ครอบครัวเขามีฐานะยากจน ทว่าตั้งแต่เด็กเขามีความฉลาดหลักแหลม จึงทำให้เขาสามารถสอบรับราชการในปีที่ 18 ของเมืองเช่าซิงได้ และทำงานรับใช้จักรพรรดิถึง 4 รัชสมัย เขาได้สอนหนังสือที่โรงเรียนอวิ๋นกู่เจี๋ยฉ่าวในเมืองเจี้ยนหยางซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮุ่ยอาน"(晦氨) สำนักหลักการได้ตั้งชื่อให้ว่า "วิทยาลัยข่าวถิง" หรือเรียกอีกอย่างว่า "โรงเรียนข่าวถิง"
จูซีเป็นลูกศิษย์รุ่นที่สามของเฉิงฮ่าวและเฉิงอี๋ ครอบครัวเขามีฐานะยากจน ทว่าตั้งแต่เด็กเขามีความฉลาดหลักแหลม จึงทำให้เขาสามารถสอบรับราชการในปีที่ 18 ของเมืองเช่าซิงได้ และทำงานรับใช้จักรพรรดิถึง 4 รัชสมัย เขาได้สอนหนังสือที่โรงเรียนอวิ๋นกู่เจี๋ยฉ่าวในเมืองเจี้ยนหยางซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮุ่ยอาน"(晦氨) สำนักหลักการได้ตั้งชื่อให้ว่า "วิทยาลัยข่าวถิง" หรือเรียกอีกอย่างว่า "โรงเรียนข่าวถิง"


จูซีได้สนับสนุนทฤษฎีโจวตุนอี้ โดยสร้างรูปแบบการศึกษาวิจัยทางด้านปรัชญาในสมัยราชวงศ์ซ่ง จนตกผลึกเป็นสำนักหลักการ(理学) และกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม"(四书) อันได้แก่ "หลุนอวี่"(论语), "เมิ่งจื่อ"(孟子), "ต้าเสว"(大学) และ "จงยง"(中庸) เป็นตำราเรียนหลักเอาไว้สำหรับสอบรับราชการในยุคต่อมา นักวิชาการของจีนเห็นว่าเขาได้สร้างระบบความคิดแบบอุดมคตินิยมอันเป็นภววิสัยที่สมบูรณ์
จูซีได้สนับสนุนทฤษฎีโจวตุนอี๋ โดยสร้างรูปแบบการศึกษาวิจัยทางด้านปรัชญาในสมัยราชวงศ์ซ่ง จนตกผลึกเป็นสำนักหลักการ(理学) และกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม"(四书) อันได้แก่ "หลุนอวี่"(论语), "เมิ่งจื่อ"(孟子), "ต้าเสว"(大学) และ "จงยง"(中庸) เป็นตำราเรียนหลักเอาไว้สำหรับสอบรับราชการในยุคต่อมา นักวิชาการของจีนเห็นว่าเขาได้สร้างระบบความคิดแบบอุดมคตินิยมอันเป็นภววิสัยที่สมบูรณ์


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:32, 22 พฤศจิกายน 2562

จูซี
ยุคปรัชญาสมัยโบราณ
แนวทางปรัชญาจีน
ความสนใจหลัก
ปรัชญาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสำนักเต๋าใหม่
แนวคิดเด่น
存天理、灭人欲


จูซี (จีน: 朱熹 18 ตุลาคม 1130 – 23 เมษายน 1200) เป็นนักปรัชญาลัทธิขงจื่อในสมัยราชวงศ์ซ่ง เขาเป็นนักวิชาการที่สอนอย่างมีหลักการและสมเหตุสมผลที่สุด เขาได้เขียนตำราอธิบายคำสอนของขงจื่อไว้ ซึ่งต่อมาเป็นพื้นฐานของระบบราชการจีนและรัฐบาลมานานกว่า 700 ปี

จูซีเป็นชาวตำบลอู้หยวน เมืองฮุยโจว ซึ่งทางตะวันออกของแดนเจียงหนาน(ปัจจุบันคือ มณฑลเจียงซี) เขาเกิดที่ตำบลหลงซี มณฑลฝูเจี้ยน (ปัจจุบันคือ ตำบลหลงไห่ เมืองจางโจว มณฑลฝูเจี้ยน) จูซีมีอีกนามว่า "อาจารย์จื่อหยาง"(紫阳先生) ฉายา "จูเหวินกง"(朱文公) จูซีเป็นนักปรัชญาสำนักหลักการเฉิง-จูในสมัยราชวงศ์ซ่งใต้ ซึ่งได้รวบรวมตำราสำคัญของสำนักเอาไว้ จึงได้รับการขนานนามว่า "จูจื่อ"

จูซีเป็นลูกศิษย์รุ่นที่สามของเฉิงฮ่าวและเฉิงอี๋ ครอบครัวเขามีฐานะยากจน ทว่าตั้งแต่เด็กเขามีความฉลาดหลักแหลม จึงทำให้เขาสามารถสอบรับราชการในปีที่ 18 ของเมืองเช่าซิงได้ และทำงานรับใช้จักรพรรดิถึง 4 รัชสมัย เขาได้สอนหนังสือที่โรงเรียนอวิ๋นกู่เจี๋ยฉ่าวในเมืองเจี้ยนหยางซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่า "ฮุ่ยอาน"(晦氨) สำนักหลักการได้ตั้งชื่อให้ว่า "วิทยาลัยข่าวถิง" หรือเรียกอีกอย่างว่า "โรงเรียนข่าวถิง"

จูซีได้สนับสนุนทฤษฎีโจวตุนอี๋ โดยสร้างรูปแบบการศึกษาวิจัยทางด้านปรัชญาในสมัยราชวงศ์ซ่ง จนตกผลึกเป็นสำนักหลักการ(理学) และกำหนดให้ "หนังสือสี่เล่ม"(四书) อันได้แก่ "หลุนอวี่"(论语), "เมิ่งจื่อ"(孟子), "ต้าเสว"(大学) และ "จงยง"(中庸) เป็นตำราเรียนหลักเอาไว้สำหรับสอบรับราชการในยุคต่อมา นักวิชาการของจีนเห็นว่าเขาได้สร้างระบบความคิดแบบอุดมคตินิยมอันเป็นภววิสัยที่สมบูรณ์

ประวัติ

สำนักหลักการ

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

สำนักเต๋าใหม่

ปรัชญาในระบบราชการ

ความศรัทธาในศาสนา

การประเมินคุณค่า

ความสำเร็จในการเขียนอักษรจีน

ผลงานชิ้นสำคัญ

อ่านเพิ่ม

  • J. Percy Bruce. Chu Hsi and His Masters, Probsthain & Co., London, 1922.
  • Daniel K. Gardner. Learning To Be a Sage, University of California Press, Berkeley, 1990. ISBN 0-520-06525-5.
  • Bruce E. Carpenter. 'Chu Hsi and the Art of Reading' in Tezukayama University Review (Tezukayama daigaku ronshū), Nara, Japan, no. 15, 1977, pp. 13–18. ISSN 0385-7743
  • Wing-tsit Chan, Chu Hsi: Life and Thought (1987). ISBN 0-312-13470-3.
  • Wing-tsit Chan, Chu Hsi: New Studies. University of Hawaii Press: 1989. ISBN 978-0-8248-1201-0
  • Gedalecia, D (1974). "Excursion Into Substance and Function." Philosophy East and West. vol. 4, 443-451.
  • Hoyt Cleveland Tillman, Utilitarian Confucianism: Ch‘en Liang's Challenge to Chu Hsi (1982)
  • Wm. Theodore de Bary, Neo-Confucian Orthodoxy and the Learning of the Mind-and-Heart (1981), on the development of Zhu Xi's thought after his death
  • Wing-tsit Chan (ed.), Chu Hsi and Neo-Confucianism (1986), a set of conference papers
  • Donald J. Munro, Images of Human Nature: A Sung Portrait (1988), an analysis of the concept of human nature in Zhu Xi's thought

แหล่งข้อมูลอื่น