ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติแม่เงา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ สุทธิศักดิ์15132 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย OctraBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 24: บรรทัด 24:


===ลักษณะภูมิอากาศ===
===ลักษณะภูมิอากาศ===
อุทยานแห่งชาติแม่ มีลักษณะภูมิอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู


• ฤดูฝน ช่วงเดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม
• ฤดูฝน ช่วงเดือนมิถุนายน – ตุลาคม


• ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
• ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์


• ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม
• ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม


อากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี และในช่วงฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวเย็นและมีหมอกปกคลุมมากทั่วไป
อากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี และในช่วงฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวเย็นและมีหมอกปกคลุมมากทั่วไป


===พืชพันธุ์และสัตว์ป่า===
===ทรัพยากรป่าไม้===
สภาพป่าในอุทยานแห่งชาติแม่เงา ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา และป่าเต็งรัง มีความหนาแน่นของพรรณไม้ เฉลี่ยอยู่ที่ 70% พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่
สภาพป่าในอุทยานแห่งชาติแม่เงา ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา และป่าเต็งรัง มีความหนาแน่นของพรรณไม้ เฉลี่ยอยู่ที่ 70%
พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่


• ป่าเบญจพรรณ เป็นพรรณไม้ชนิดผลัดใบ พันธุ์ไม้สำคัญที่พบมากได้แก่ [[สัก]] [[แดง (พรรณไม้)|แดง]] รกฟ้า เก็ดแดง เก็ดดำ [[ประดู่]]
• ป่าเบญจพรรณ เป็นพรรณไม้ชนิดผลัดใบ พันธุ์ไม้สำคัญที่พบมากได้แก่ สัก แดง รกฟ้า
เก็ดแดง เก็ดดำ ประดู่


• ป่าดิบเขา สภาพป่ามองดูเขียวชอุ่มตลอดปี และมีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น พบมากตามยอดเขาสูง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ พันธุ์ไม้ก่อชนิดต่างๆ และไม้จำพวกเกาะเช่นเฟิร์นชายผ้าสีดา [[มอสส์]] ซึ่งเกาะตามกิ่งไม้ ส่วนไม้พื้นล่างประกอบด้วย[[เฟิร์น]] [[กล้วยไม้ดิน]] พืชตระกูลขิงข่า เป็นต้น
• ป่าดิบเขา สภาพป่ามองดูเขียวชอุ่มตลอดปี และมีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น พบมากตามยอดเขาสูง
พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ พันธุ์ไม้ก่อชนิดต่างๆ และไม้จำพวกเกาะเช่นเฟิร์นชายผ้าสีดา มอส ซึ่งเกาะตามกิ่งไม้ ส่วนไม้พื้นล่างประกอบด้วยเฟิร์น กล้วยไม้ดิน พืชตระกูลขิงข่า เป็นต้น


• ป่าเต็งรัง พบในบริเวณเนินเขา ไหล่เขาและเชิงเขา โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีหินโผล่ มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง ได้แก่ [[เต็ง]] [[รัง]] พลวง [[เหียง]] ส้าน [[มะขามป้อม]] [[ยอป่า]] ไม้พื้นล่างเป็นพวกหญ้าตระกูลต่างๆ เป็นต้น
• ป่าเต็งรัง พบในบริเวณเนินเขา ไหล่เขาและเชิงเขา โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีหินโผล่ มีลักษณะเป็น
ป่าโปร่ง ได้แก่ เต็ง รัง พลวง เหียง ส้าน มะขามป้อม ยอป่า ไม้พื้นล่างเป็นพวกหญ้าตระกูลต่างๆ


===ทรัพยากรสัตว์ป่า===
สัตว์ป่าที่พบมาก ได้แก่
หมูป่า อีเห็นข้างลาย หมีควาย เก้ง ลิง ค่าง ชะนี เลียงผา กระรอกบิน หมาจิ้งจอก หมาใน กระรอเพา กระต่ายป่า ไก่ป่า นกแซงแซวหางบ่วง นกขุนทอง นกขุนแผน นกโพระดก นกฮูก นกไต่ไม้ นกคุ้มอกลาย นกเอี้ยง อีกา งูเห่า งูสามเหลี่ยม งูเหลือม งูสิง เขียดแลว ปลากระทิง ปลาแรด ปลาเกล็ด ปลาพลวง ปลาบู่ ปลากดคัง ปลาแข้ฯลฯ
สัตว์ป่าที่พบมากในอุทยานแห่งชาติแม่เงา ได้แก่
* [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] เช่น [[หมูป่า]] [[อีเห็นข้างลาย]] [[หมีควาย]] [[เก้ง]] [[ลิง]] [[ค่าง]] [[ชะนี]] [[เลียงผา]] [[กระรอกบิน]] [[หมาจิ้งจอก]] [[หมาใน]] กระรอเพา [[กระต่ายป่า]] เป็นต้น
* [[สัตว์ปีก]] จำพวกนก เช่น [[ไก่ป่า]] นกแซงแซวหางบ่วง [[นกขุนทอง]] [[นกขุนแผน]] นกโพระดก [[นกฮูก]] [[นกไต่ไม้]] นกคุ้มอกลาย [[นกเอี้ยง]] [[อีกา]] เป็นต้น
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]] เช่น [[งูเห่า]] [[งูสามเหลี่ยม]] [[งูเหลือม]] [[งูสิง]] เป็นต้น
* [[สัตว์เลื้อยคลาน]] เช่น [[กบทูด]] เป็นต้น
* [[สัตว์น้ำ]] จำพวกปลา เช่น [[ปลากระทิง]] [[ปลาแรด]] ปลาเกล็ด [[ปลาพลวง]] [[ปลาบู่]] [[ปลากดคัง]] [[ปลาแข้]] เป็นต้น


===การเดินทาง===
===การเดินทาง===
สามารถใช้ได้ 2 เส้นทาง คือ
สามารถใช้ได้ 2 เส้นทาง คือ

1. จากกรุงเทพ – อ. แม่สอด แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 (แม่สอด-แม่สะเรียง) ถึงบ้านแม่เงาซึ่งเป็นปากทางเข้าอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 190 กม. แล้วเลี้ยวขวาตามถนนคอนกรีตถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม.
1. จากกรุงเทพ – อ. แม่สอด แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 (แม่สอด-แม่สะเรียง) ถึงบ้านแม่เงาซึ่งเป็นปากทางเข้าอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 190 กม. แล้วเลี้ยวขวาตามถนนคอนกรีตถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม.

2. จากกรุงเทพ –จังหวัดเชียงใหม่ แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (เชียงใหม่-แม่สะเรียง) ถึงอำเภอแม่สะเรียง (บ้านจอมแจ้ง) ระยะทาง 191 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 ถึงบ้านแม่เงา ระยะทาง 40 กม. แล้วเลี้ยวซ้ายตามถนนคอนกรีตเข้าสู้ที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม.
2. จากกรุงเทพ –จังหวัดเชียงใหม่ แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (เชียงใหม่-แม่สะเรียง) ถึงอำเภอแม่สะเรียง (บ้านจอมแจ้ง) ระยะทาง 191 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 ถึงบ้านแม่เงา ระยะทาง 40 กม. แล้วเลี้ยวซ้ายตามถนนคอนกรีตเข้าสู้ที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม.
หมายเหตุ มีรถสองแถวสีส้ม , วิ่งระหว่างแม่สะเรียง-แม่สอดผ่าน(ปากทางเข้าอุทยานบ้านแม่เงา)
หมายเหตุ มีรถสองแถวสีส้ม , วิ่งระหว่างแม่สะเรียง-แม่สอดผ่าน(ปากทางเข้าอุทยานบ้านแม่เงา)
บรรทัด 62: บรรทัด 60:
* ถ้ำปลา
* ถ้ำปลา
* ถ้ำแม่อมกิ
* ถ้ำแม่อมกิ
* [[น้ำตกบูรณประภา]]
* น้ำตกบูรณประภา
* [[น้ำตกแม่แจ]]
* น้ำตกแม่แจ
* [[น้ำตกแม่ลออ]]
* น้ำตกแม่ลออ
* [[น้ำตกแม่วะหลวง]]
* น้ำตกแม่วะหลวง
* [[น้ำตกโอโละโกร]]
* น้ำตกโอโละโกร
* ป่าสักธรรมชาติ
* ป่าสักธรรมชาติ
* แม่น้ำเงา
* แม่น้ำเงา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 20 พฤศจิกายน 2562

อุทยานแห่งชาติแม่เงา
ที่ตั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดตาก ประเทศไทย
พื้นที่257,650 ไร่ (412.24 ตร.กม.)[1]
ผู้เยี่ยมชม20,730[2] (2551)
หน่วยราชการสำนักอุทยานแห่งชาติ


อุทยานแห่งชาติแม่เงา ตั้งอยู่ในท้องที่ของอำเภอแม่สะเรียง อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน และอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 257,650 ไร่ หรือ 412.24 ตารางกิโลเมตร จากการที่อุทยานแห่งชาติแม่โถ จังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการสำรวจพื้นที่ป่ารอบเขตอุทยานแห่งชาติแม่โถ เพื่อที่จะผนวกเข้าเป็นอุทยานแห่งชาติเพิ่มเติม และได้พบว่าพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ซึ่งอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนยังมีสภาพป่าที่สมบูรณ์เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งใหม่ และรายงานผลการสำรวจนี้ให้กรมป่าไม้ทราบ กรมป่าไม้จึงได้ออกคำสั่งที่ 1061/2536 ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2536 ให้นายนิรันดร์ กมลาพร นักวิชาการป่าไม้ 5 ปฏิบัติงานประจำอุทยานแห่งชาติภูกระดึง กองอุทยานแห่งชาติไปดำเนินการสำรวจข้อมูลรายละเอียดเบื้องต้น พื้นที่ป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย แปลงที่ 2 และพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ในระหว่างวันที่ 19 กรกฎาคม - 17 สิงหาคม 2536

ต่อมากรมป่าไม้ได้ออกคำสั่งที่ 614/2537 ลงวันที่ 17 เมษายน 2537 ให้นายนิรันดร์ กมลาพร ไปดำเนินการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมทั้งป่าท่าสองยาง จังหวัดตาก ป่าอมก๋อย จังหวัด เชียงใหม่ และจัดตั้งพื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยให้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าอุทยานแห่งชาตินี้ด้วย และในการประชุมคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2538 วันที่ 18 พฤษภาคม 2538 มีมติเห็นชอบให้จัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ขณะนี้อยู่ระหว่างเสนอร่างพระราชกฤษฎีกา เพื่อกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาติต่อไป มีเนื้อที่ประมาณ 257,650 ไร่

ลักษณะภูมิประเทศ

สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงชันสลับซับซ้อน ประกอบด้วยป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่ยังคงความสมบรูณ์เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิดและยังเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำหลายสาย เช่น แม่น้ำแม่ริด แม่น้ำเงา ห้วยม่วง ห้วยมะกอก ซึ่งลำน้ำเหล่านี้ จะไหลมารวมกันที่แม่น้ำยวม แล้วไหลลงสู่แม่น้ำเมยและแม่น้ำสาละวิน ตามลำดับ

ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศ สภาพอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู

• ฤดูฝน ช่วงเดือนมิถุนายน – ตุลาคม

• ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์

• ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม

อากาศเย็นสบายตลอดทั้งปี และในช่วงฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวเย็นและมีหมอกปกคลุมมากทั่วไป

พืชพันธุ์และสัตว์ป่า

สภาพป่าในอุทยานแห่งชาติแม่เงา ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา และป่าเต็งรัง มีความหนาแน่นของพรรณไม้ เฉลี่ยอยู่ที่ 70% พันธุ์ไม้ที่สำคัญได้แก่

• ป่าเบญจพรรณ เป็นพรรณไม้ชนิดผลัดใบ พันธุ์ไม้สำคัญที่พบมากได้แก่ สัก แดง รกฟ้า เก็ดแดง เก็ดดำ ประดู่

• ป่าดิบเขา สภาพป่ามองดูเขียวชอุ่มตลอดปี และมีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น พบมากตามยอดเขาสูง พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ พันธุ์ไม้ก่อชนิดต่างๆ และไม้จำพวกเกาะเช่นเฟิร์นชายผ้าสีดา มอส ซึ่งเกาะตามกิ่งไม้ ส่วนไม้พื้นล่างประกอบด้วยเฟิร์น กล้วยไม้ดิน พืชตระกูลขิงข่า เป็นต้น

• ป่าเต็งรัง พบในบริเวณเนินเขา ไหล่เขาและเชิงเขา โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีหินโผล่ มีลักษณะเป็น ป่าโปร่ง ได้แก่ เต็ง รัง พลวง เหียง ส้าน มะขามป้อม ยอป่า ไม้พื้นล่างเป็นพวกหญ้าตระกูลต่างๆ

• สัตว์ป่าที่พบมาก ได้แก่ หมูป่า อีเห็นข้างลาย หมีควาย เก้ง ลิง ค่าง ชะนี เลียงผา กระรอกบิน หมาจิ้งจอก หมาใน กระรอเพา กระต่ายป่า ไก่ป่า นกแซงแซวหางบ่วง นกขุนทอง นกขุนแผน นกโพระดก นกฮูก นกไต่ไม้ นกคุ้มอกลาย นกเอี้ยง อีกา งูเห่า งูสามเหลี่ยม งูเหลือม งูสิง เขียดแลว ปลากระทิง ปลาแรด ปลาเกล็ด ปลาพลวง ปลาบู่ ปลากดคัง ปลาแข้ฯลฯ

การเดินทาง

สามารถใช้ได้ 2 เส้นทาง คือ 1. จากกรุงเทพ – อ. แม่สอด แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 (แม่สอด-แม่สะเรียง) ถึงบ้านแม่เงาซึ่งเป็นปากทางเข้าอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 190 กม. แล้วเลี้ยวขวาตามถนนคอนกรีตถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม. 2. จากกรุงเทพ –จังหวัดเชียงใหม่ แล้วเดินทางต่อตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 (เชียงใหม่-แม่สะเรียง) ถึงอำเภอแม่สะเรียง (บ้านจอมแจ้ง) ระยะทาง 191 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 105 ถึงบ้านแม่เงา ระยะทาง 40 กม. แล้วเลี้ยวซ้ายตามถนนคอนกรีตเข้าสู้ที่ทำการอุทยานแห่งชาติแม่เงา ระยะทาง 4 กม. หมายเหตุ มีรถสองแถวสีส้ม , วิ่งระหว่างแม่สะเรียง-แม่สอดผ่าน(ปากทางเข้าอุทยานบ้านแม่เงา)

ด้านธรรมชาติ

  • ถ้ำปลา
  • ถ้ำแม่อมกิ
  • น้ำตกบูรณประภา
  • น้ำตกแม่แจ
  • น้ำตกแม่ลออ
  • น้ำตกแม่วะหลวง
  • น้ำตกโอโละโกร
  • ป่าสักธรรมชาติ
  • แม่น้ำเงา
  • ยอดดอยปุย
  • ยอดดอยปุยหลวง

อ้างอิง

  1. อุทยานแห่งชาติ จากธรรมชาติสู่เขตอนุรักษ์, สำนักอุทยานแห่งชาติ, กรุงเทพฯ, 2545, 48
  2. สถิติข้อมูลนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น