ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทัพบกเยอรมัน (จักรวรรดิเยอรมัน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ออสโตร" → "ออสเตรีย" ด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox military unit
{{Infobox military unit
|country = {{Flagcountry|จักรวรรดิเยอรมัน}}
|country = {{Flagcountry|จักรวรรดิเยอรมัน}}
|name = กองทัพจักรวรรดิเยอรมัน<br />Deutsches Heer
|name = กองทัพบกเยอรมัน<br>Deutsches Heer
|native_name =
|native_name =
|image= [[ไฟล์:Kaiserstandarte.svg|200px]]
|image= [[ไฟล์:Kaiserstandarte.svg|200px]]
|caption= ธงพระยศไกเซอร์
|caption=
|image2 =
|image2 =
|caption2 =
|caption2 =
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
|type =
|type =
|role =
|role =
|allegiance = [[จักรพรรดิเยอรมัน|ไกเซอร์เยอรมัน]]
<!-- Leadership -->
|allegiance = [[จักรพรรดิวิลเฮมล์ ที่ 1]]

[[จักรพรรดิฟรีดริช ที่ 3]]

[[จักรพรรดิวิลเฮมล์ ที่ 2]]
|past_commanders =
|past_commanders =
|ceremonial_chief = [[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 1 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1]]<br>[[จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3]]<br>[[จักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี|จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]]
|ceremonial_chief = [[จักรพรรดิเยอรมัน]]
|notable_commanders = [[เฮ็ลมูท คาร์ล แบร์นฮาร์ท ฟ็อน ม็อลท์เคอ|จอมพล ฟ็อน ม็อลท์เคอ]]<br>[[คาร์ล ฟรีดริช ฟ็อน ชไตน์เม็ทซ์|จอมพล ฟ็อน ชไตน์เม็ทซ์]]<br>[[เพาล์ ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค|จอมพล ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค]]
|notable_commanders =
<!-- Insignia -->
|identification_symbol =
|identification_symbol =
|identification_symbol_2 =
|identification_symbol_2 =
|age = 18 ปีขึ้นไป
<!-- Manpower -->
|age = 18 ขึ้นไป
|conscription =
|conscription =
|manpower_data =
|manpower_data =
บรรทัด 40: บรรทัด 33:
|reserve =
|reserve =
|deployed =
|deployed =
|size =13,500,000 นาย<br>(สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
|size =
|command_structure =
|command_structure =
<!-- Financial -->
<!-- Financial -->
บรรทัด 51: บรรทัด 44:
<!-- Related aricles -->
<!-- Related aricles -->
|nickname =
|nickname =
|patron = [[จักรพรรดิเยอรมัน]]<br/>[[สภารัฐบาลเยอรมัน]]
|motto =
|motto =
|colors = [[ไฟล์:Flag of the German Empire.svg|150px]]
|colors = [[ไฟล์:Flag of the German Empire.svg|100px]]
|march =
|march =
|mascot =
|mascot =
|battles = [[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]]<br/>[[สงครามกลางเมืองซามัว]]<br>[[Abushiri Revolt]]<br>[[สงครามกลางเมืองซามัว ครั้งที่ 2]]<br>[[กบฏนักมวย]]<br/>[[สงครามเฮเรโร]]<br/>[[สงครามโลกครั้งที่ 1]]
|battles = [[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]]<br/>[[สงครามกลางเมืองซามัว]]<br>[[Abushiri Revolt]]<br>[[สงครามกลางเมืองซามัวครั้งที่ 2]]<br>[[กบฏนักมวย]]<br/>[[สงครามเฮเรโร]]<br/>[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]
|anniversaries =
|anniversaries =
|decorations =
|decorations =
บรรทัด 62: บรรทัด 54:
}}
}}


'''''กองทัพบกจักรวรรดิเยอรมัน''''' ({{lang-de|Deutsches Heer}}) เป็น[[กองทัพบก]]ของ[[จักรวรรดิเยอรมัน]]
'''กองทัพบกเยอรมัน''' ({{lang-de|Deutsches Heer}}) หรือ '''ไรชส์แฮร์''' ({{lang-de|Reichsheer}}) เป็น[[กองทัพบก]]ของ[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ระหว่างปีค.ศ. 1871 ถึง 1918 เป็นกองทัพหลักที่มีบทบาทสำคัญใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]


== ประวัติ==
== ประวัติ==
เมื่อ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]เป็นแกนนำจัดตั้ง[[สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ]] สนธิสัญญาได้กำหนดกองกำลังของสมาพันธ์เป็นสองเหล่าทัพชื่อว่า ''กองทัพบกสมาพันธ์'' (Bundesheer) และ ''กองทัพเรือสมาพันธ์'' (Bundesmarine) รัฐต่างๆต้องส่งมอบอำนาจทางทหารรวมถึงยุทธปัจจัยต่างๆให้แก่กองทัพปรัสเซียในยามศึกสงคราม เมื่อ[[สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย]]ปะทุขึ้นในปีค.ศ. 1870 นอกจากรัฐร่วมสมาพันธ์จะต้องเข้าร่วมสงครามด้วยแล้ว ยังได้ดึงเอารัฐอื่นนอกสมาพันธ์เข้ามาร่วมสงครามด้วย นั่นได้แก่ บาวาเรีย, เวือร์ทเทิมแบร์ค และบาเดิน
รัฐที่ประกอบขึ้นเป็นจักรวรรดิเยอรมันนั้นมีส่วนในการสนับสนุนกองทัพของพวกเขา ภายใน[[สมาพันธ์เยอรมัน]]หลัง[[สงครามนโปเลียน]]แต่ละรัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการบำรุงรักษาหน่วยงานบางอย่างเพื่อจัดการกับสมาพันธ์ในกรณีที่มีความขัดแย้ง เมื่อทำงานร่วมกันหน่วยต่างๆเป็นที่รู้จักในนามกองทัพบก (Bundesheer) ระบบกองทัพสหพันธรัฐทำหน้าที่ระหว่างความขัดแย้งต่าง ๆ ของศตวรรษที่ 19 เช่นสงครามชเลสวิกครั้งแรกจากปี ค.ศ. 1848–5050 แต่เมื่อถึงเวลาของสงครามสวิกที่สองของปี 1864 ความตึงเครียดได้เกิดขึ้นระหว่างอำนาจหลักของสมาพันธ์[[จักรวรรดิออสเตรีย]]และ [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]และสมาพันธ์เยอรมันละลายหลังจาก[[สงครามออสโตร - ปรัสเซีย]]ในปี 2409


ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมันถูกร่างขึ้นในปีค.ศ. 1871 ก็ได้สถาปนากองทัพบกที่ชื่อว่า ''ไรชส์แฮร์'' (Reichsheer) ขึ้นมา รัฐอื่นในจักรวรรดิต้องส่งมอบอำนาจบัญชากองทหารของตนให้แก่[[กองทัพปรัสเซีย]] มีเพียงทหารของบาวาเรีย, ซัคเซิน และเวือร์ทเทิมแบร์ค เท่านั้นที่มีสถานะเป็นกึ่งอิสระ รัฐทั้งสี่แห่งอย่างปรัสเซีย, บาวาเรีย, ซัคเซิน และเวือร์ทเทิมแบร์ค ต่างมีเสนาบดีการสงครามเป็นของตน อย่างไรก็ตาม หลังปีค.ศ. 1871 คำว่าไรชส์แฮร์ก็ไม่ได้รับความนิยมในเอกสารราชการ แต่ไปนิยมใช้คำว่า ''กองทัพบกเยอรมัน'' (Deutsches Heer) แทน
ปรัสเซียก่อตั้งสหพันธรัฐเยอรมันเหนือและสนธิสัญญาเพื่อการบำรุงรักษากองทัพบกและกองทัพเรือสหรัฐ (Bundesmarine หรือ Bundeskriegsmarine) [1] กฎหมายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ทางทหารก็ใช้ข้อกำหนดเหล่านี้ [2] อนุสัญญา (บางคนแก้ไขเพิ่มเติมภายหลัง) ถูกป้อนเข้าระหว่างสมาพันธ์เยอรมันเหนือและรัฐสมาชิกสังกัดกองทัพของพวกเขาไปยังกองทัพปรัสเซียนในช่วงเวลาของสงครามและให้กองทัพปรัสเซียนควบคุมการฝึกอบรมหลักคำสอนและอุปกรณ์ [a]

ไม่นานหลังจากการระบาดของ[[สงครามฝรั่งเศส - ปรัสเซีย]]ใน 2413 สมาพันธ์เยอรมันเหนือก็เข้าสู่การประชุมในเรื่องการทหารกับ[[สหรัฐฯ]]ที่ไม่ใช่สมาชิกของสมาพันธ์คือบาวาเรียWürttembergและบาเดน [b] ผ่านการประชุมและ 2414 ที่รัฐธรรมนูญของจักรวรรดิเยอรมันกองทัพแห่งอาณาจักร (Reichsheer) ถูกสร้างขึ้น เนื้อหาของ[[อาณาจักรบาวาเรีย]]แซกซอนและ[[เวิร์ทเทมแบร์ก]]ยังคงเป็นกึ่งอิสระในขณะที่กองทัพปรัสเซียนสันนิษฐานว่าควบคุมกองทัพของรัฐอื่น ๆ ของจักรวรรดิได้เกือบทั้งหมด รัฐธรรมนูญของ[[จักรวรรดิเยอรมัน]]ลงวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2414 เปลี่ยนการอ้างอิงในรัฐธรรมนูญเยอรมันเหนือจากกองทัพสหพันธรัฐเป็นกองทัพแห่งอาณาจักร (Reichsheer) หรือกองทัพเยอรมัน (Deutsches Heer) [3]

หลังปี ค.ศ. 1871 กองทัพสงบสุขของสี่อาณาจักรยังค่อนข้างชัดเจน "กองทัพเยอรมัน" ถูกนำมาใช้ในเอกสารทางกฎหมายต่าง ๆ เช่นประมวลกฎหมายอาญาของทหาร แต่อย่างอื่นที่ปรัสเซียนบาวาเรียแซกซอนและWürttembergกองทัพรักษาตัวตนที่ชัดเจน [4] แต่ละราชอาณาจักรมีกระทรวงสงครามของตนเองบาวาเรียและแซกโซนีตีพิมพ์ยศและรายชื่อผู้อาวุโสสำหรับนายทหารและรายชื่อเวิร์ทเทมแบร์กเป็นบทที่แยกต่างหากจากรายการอันดับกองทัพปรัสเซีย Württembergและหน่วยแซกซอนมีหมายเลขตามระบบปรัสเซียน แต่หน่วยบาวาเรียยังคงรักษาหมายเลขของตัวเอง (ที่ 2 Württembergกรมทหารราบเป็นกรมทหารราบที่ 120 ภายใต้ระบบปรัสเซียนกรมทหารราบ){{โครง-ส่วน}}


== กองกำลังหลัก ==
== กองกำลังหลัก ==
ประกอบด้วยทหารราบ ทหารม้าซึ่งสมัยนั้นประกอบด้วย [[รถถังรุ่น A7Vเยอรมัน]] สมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ทหารราบของจักรวรรดิเป็นทหารหลากหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่เป็นทหารปรัสเซียหรือเยอรมัน โดยตรงด้านเยอรมันซึ่ง[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]]จะส่งทหารราบไปช่วย[[จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี]]ป้องชายแดนจากการุนรานของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1]] อย่าง อิตาลีและ เซอร์เบีย ฝ่ายมหาอำนาจกลาง มีกำลังพลน้อยกว่า อัครเสนาบดีเยอรมัน[[อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค]]ถูก[[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]]ทรงไล่ออกจากราชการ ทำให้ทหารฝ่ายมหาอำนาจเสียขวัญและใจ
ประกอบด้วยทหารราบ ทหารม้าซึ่งสมัยนั้นประกอบด้วย [[รถถังรุ่น A7Vเยอรมัน]] สมัย[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ทหารราบของจักรวรรดิเป็นทหารหลากหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่เป็นทหารปรัสเซียหรือเยอรมัน โดยตรงด้านเยอรมันซึ่ง[[ฝ่ายมหาอำนาจกลาง]]จะส่งทหารราบไปช่วย[[จักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการี]]ป้องชายแดนจากการุนรานของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1]] อย่าง อิตาลีและ เซอร์เบีย ฝ่ายมหาอำนาจกลาง มีกำลังพลน้อยกว่า นายกรัฐมนตรี[[อ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์ค]]ถูก[[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2]]ทรงไล่ออกจากราชการ ทำให้ทหารฝ่ายมหาอำนาจเสียขวัญและใจ
ทหารราบจะให้ รถถัง เข้าโจมตีก่อนเพื่อป้องกันกระสุนจากปืนทุกๆกระบอก
ทหารราบจะให้ รถถัง เข้าโจมตีก่อนเพื่อป้องกันกระสุนจากปืนทุกๆกระบอก

== ดูเพิ่ม ==
* [[ลุฟท์ชไตรท์แครฟเทอ]]
* [[มารีเนอ-ฟีเกอร์]]
* [[สารคดี The world wars]]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:09, 17 พฤศจิกายน 2562

กองทัพบกเยอรมัน
ธงพระยศไกเซอร์
ปลดประจำการค.ศ. 1919
ประเทศ เยอรมนี
ขึ้นต่อไกเซอร์เยอรมัน
กำลังรบ13,500,000 นาย
(สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
สีหน่วย
ปฏิบัติการสำคัญสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
สงครามกลางเมืองซามัว
Abushiri Revolt
สงครามกลางเมืองซามัวครั้งที่ 2
กบฏนักมวย
สงครามเฮเรโร
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ผู้บังคับบัญชา
จอมทัพจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 1
จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2
ผบ. สำคัญจอมพล ฟ็อน ม็อลท์เคอ
จอมพล ฟ็อน ชไตน์เม็ทซ์
จอมพล ฟ็อน ฮินเดินบวร์ค

กองทัพบกเยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Heer) หรือ ไรชส์แฮร์ (เยอรมัน: Reichsheer) เป็นกองทัพบกของจักรวรรดิเยอรมันระหว่างปีค.ศ. 1871 ถึง 1918 เป็นกองทัพหลักที่มีบทบาทสำคัญในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ประวัติ

เมื่อราชอาณาจักรปรัสเซียเป็นแกนนำจัดตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ สนธิสัญญาได้กำหนดกองกำลังของสมาพันธ์เป็นสองเหล่าทัพชื่อว่า กองทัพบกสมาพันธ์ (Bundesheer) และ กองทัพเรือสมาพันธ์ (Bundesmarine) รัฐต่างๆต้องส่งมอบอำนาจทางทหารรวมถึงยุทธปัจจัยต่างๆให้แก่กองทัพปรัสเซียในยามศึกสงคราม เมื่อสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียปะทุขึ้นในปีค.ศ. 1870 นอกจากรัฐร่วมสมาพันธ์จะต้องเข้าร่วมสงครามด้วยแล้ว ยังได้ดึงเอารัฐอื่นนอกสมาพันธ์เข้ามาร่วมสงครามด้วย นั่นได้แก่ บาวาเรีย, เวือร์ทเทิมแบร์ค และบาเดิน

ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญจักรวรรดิเยอรมันถูกร่างขึ้นในปีค.ศ. 1871 ก็ได้สถาปนากองทัพบกที่ชื่อว่า ไรชส์แฮร์ (Reichsheer) ขึ้นมา รัฐอื่นในจักรวรรดิต้องส่งมอบอำนาจบัญชากองทหารของตนให้แก่กองทัพปรัสเซีย มีเพียงทหารของบาวาเรีย, ซัคเซิน และเวือร์ทเทิมแบร์ค เท่านั้นที่มีสถานะเป็นกึ่งอิสระ รัฐทั้งสี่แห่งอย่างปรัสเซีย, บาวาเรีย, ซัคเซิน และเวือร์ทเทิมแบร์ค ต่างมีเสนาบดีการสงครามเป็นของตน อย่างไรก็ตาม หลังปีค.ศ. 1871 คำว่าไรชส์แฮร์ก็ไม่ได้รับความนิยมในเอกสารราชการ แต่ไปนิยมใช้คำว่า กองทัพบกเยอรมัน (Deutsches Heer) แทน

กองกำลังหลัก

ประกอบด้วยทหารราบ ทหารม้าซึ่งสมัยนั้นประกอบด้วย รถถังรุ่น A7Vเยอรมัน สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ทหารราบของจักรวรรดิเป็นทหารหลากหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่เป็นทหารปรัสเซียหรือเยอรมัน โดยตรงด้านเยอรมันซึ่งฝ่ายมหาอำนาจกลางจะส่งทหารราบไปช่วยจักรวรรดิออสเตรีย - ฮังการีป้องชายแดนจากการุนรานของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 อย่าง อิตาลีและ เซอร์เบีย ฝ่ายมหาอำนาจกลาง มีกำลังพลน้อยกว่า นายกรัฐมนตรีอ็อทโท ฟ็อน บิสมาร์คถูกจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2ทรงไล่ออกจากราชการ ทำให้ทหารฝ่ายมหาอำนาจเสียขวัญและใจ ทหารราบจะให้ รถถัง เข้าโจมตีก่อนเพื่อป้องกันกระสุนจากปืนทุกๆกระบอก