ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทยานแห่งชาติภูซาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
สุทธิศักดิ์15132 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
สัตว์ป่า ได้แก่ [[เลียงผา]] [[กวางป่า]] [[เก้ง]] [[ลิง]] [[หมูป่า]] [[กระจง]] [[ค่าง]] [[ชะนี]] กระต่าย [[แมวป่า]] เม่น [[อีเห็น]] [[ชะมด]] [[กระรอก]] [[หมาใน]] [[เต่าปูลู]] และนกชนิดต่างๆ เป็นต้น
สัตว์ป่า ได้แก่ [[เลียงผา]] [[กวางป่า]] [[เก้ง]] [[ลิง]] [[หมูป่า]] [[กระจง]] [[ค่าง]] [[ชะนี]] กระต่าย [[แมวป่า]] เม่น [[อีเห็น]] [[ชะมด]] [[กระรอก]] [[หมาใน]] [[เต่าปูลู]] และนกชนิดต่างๆ เป็นต้น


'''เต่าปูลู'''
เป็นเต่าที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางภาคเหนือตอนบนและแนวเขตติดต่อกับประเทศพม่าและจีนตอนใต้ลักษณะเฉพาะตัวคือเตี้ย กระดองสีเขียวเข้มถึงดำยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร ที่เด่นคือ หางเป็นปล้องยาวกว่ากระดอง หดตัว ขาและหางไม่ได้สามารถปีนป่ายได้เก่ง โดยอาศัยเล็บและหางช่วยยัน เต่าปูลูออกหากินเวลากลางคืน บริโภคกุ้ง หอย ปู ปลา ไม่ชอบบริโภคพืช กลางวันมักหลบอยู่ตามซอกหินเย็น ๆ หน้าหนาวจำศีลเหมือนกบ วางไข่ช่วงปลายเดือนเมษายน ครั้งละ 3-4 ฟอง


==สถานที่ท่องเที่ยว==
'''น้ำตกภูซาง'''
'''น้ำตกภูซาง'''
เป็นน้ำตกชั้นเดียว ซึ่งตกลงสู่แอ่งน้ำเบื้องล่างสูงประมาณ 25 เมตร น้ำตกภูซางเป็นน้ำตกที่เป็นกระแสน้ำอุ่น มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศาเซลเซียส
เป็นน้ำตกชั้นเดียว ซึ่งตกลงสู่แอ่งน้ำเบื้องล่างสูงประมาณ 25 เมตร น้ำตกภูซางเป็นน้ำตกที่เป็นกระแสน้ำอุ่น มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศาเซลเซียส

'''เต่าปูลู'''
เป็นเต่าที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางภาคเหนือตอนบนและแนวเขตติดต่อกับประเทศพม่าและจีนตอนใต้ลักษณะเฉพาะตัวคือเตี้ย กระดองสีเขียวเข้มถึงดำยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร ที่เด่นคือ หางเป็นปล้องยาวกว่ากระดอง หดตัว ขาและหางไม่ได้สามารถปีนป่ายได้เก่ง โดยอาศัยเล็บและหางช่วยยัน เต่าปูลูออกหากินเวลากลางคืน บริโภคกุ้ง หอย ปู ปลา ไม่ชอบบริโภคพืช กลางวันมักหลบอยู่ตามซอกหินเย็น ๆ หน้าหนาวจำศีลเหมือนกบ วางไข่ช่วงปลายเดือนเมษายน ครั้งละ 3-4 ฟอง


{{อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย}}
{{อุทยานแห่งชาติในประเทศไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:57, 8 พฤศจิกายน 2562

อุทยานแห่งชาติภูซาง มีพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ดินบริเวณป่าน้ำหงาวฝั่งซ้าย ในท้องที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ป่าน้ำเปี๋อยและป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ในท้องที่อำเภอเชียงคำ อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีสภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขา มีความอุดมสมบูรณ์ประกอบด้วย ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและมีค่า เช่น พันธุ์ไม้ ของป่า สัตว์นานาชนิด ตลอดจนทิวทัศน์ป่า และภูเขาที่สวยงาม มีเนื้อที่ประมาณ 178,049.62 ไร่ หรือ 284.88 ตารางกิโลเมตร

ลักษณะภูมิประเทศ

เป็นเทือกเขาติดชายแดนกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวยาวประมาณ 30 กิโลเมตร มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 440 - 1,548 เมตร โดยมียอดดอยผาหม่นเป็นยอดเขาที่สูงที่สุด เป็นแหล่งต้นน้ำลำธารของแม่น้ำลาว น้ำหงาว น้ำเปื๋อย น้ำบง น้ำญวน ซึ่งเป็นแหล่งน้ำหล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกรรมของอำเภอเชียงคำ

ลักษณะภูมิอากาศ

อุทยานแห่งชาติภูซาง จะแบ่งลักษณะภูมิอากาศเป็นฤดูกาล 3 ฤดู ดังนี้

  • ฤดูฝน ระหว่างเดือนพฤษภาคม - เดือนตุลาคม
  • ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน - เดือนมกราคม
  • ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนเมษายน

พืชพรรณและสัตว์ป่า

สภาพป่าโดยทั่วไปประกอบด้วย ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าสนเขา ป่าดิบเขา พันธุ์ไม้ที่สำคัญ ได้แก่ ยางนา ยางขาว ยางแดง ตะเคียน ตุ้มเต๋น มะไฟ ยมหอม จำปีป่า จำปาป่า กระบาก ตะแบก มะหาด ประดู่ แดง สัก เสลา ส้าน มะค่าโมง ตะคร้อ สมอพิเภก กระบก ก่อ มะม่วงป่า รวมทั้งไผ่ กล้วยป่า หวาย และเฟิร์น เป็นต้น

สัตว์ป่า ได้แก่ เลียงผา กวางป่า เก้ง ลิง หมูป่า กระจง ค่าง ชะนี กระต่าย แมวป่า เม่น อีเห็น ชะมด กระรอก หมาใน เต่าปูลู และนกชนิดต่างๆ เป็นต้น

เต่าปูลู เป็นเต่าที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ทางภาคเหนือตอนบนและแนวเขตติดต่อกับประเทศพม่าและจีนตอนใต้ลักษณะเฉพาะตัวคือเตี้ย กระดองสีเขียวเข้มถึงดำยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร ที่เด่นคือ หางเป็นปล้องยาวกว่ากระดอง หดตัว ขาและหางไม่ได้สามารถปีนป่ายได้เก่ง โดยอาศัยเล็บและหางช่วยยัน เต่าปูลูออกหากินเวลากลางคืน บริโภคกุ้ง หอย ปู ปลา ไม่ชอบบริโภคพืช กลางวันมักหลบอยู่ตามซอกหินเย็น ๆ หน้าหนาวจำศีลเหมือนกบ วางไข่ช่วงปลายเดือนเมษายน ครั้งละ 3-4 ฟอง

สถานที่ท่องเที่ยว

น้ำตกภูซาง เป็นน้ำตกชั้นเดียว ซึ่งตกลงสู่แอ่งน้ำเบื้องล่างสูงประมาณ 25 เมตร น้ำตกภูซางเป็นน้ำตกที่เป็นกระแสน้ำอุ่น มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศาเซลเซียส