ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5246498 สร้างโดย Topzapk46 (พูดคุย)
GeonuchBot (คุย | ส่วนร่วม)
change cats using AWB
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
== กายในทางเถรวาท ==
== กายในทางเถรวาท ==


กาย กอง, หมวดหมู่, ที่รวม, ชุมนุม เช่น สัตวกาย (มวลสัตว์) พลกาย (กองกำลังทหาร) รถกาย (กองทหารรถ) ธรรมกาย (ที่รวมหรือที่ชุมนุมแห่งธรรม)
กาย กอง, หมวดหมู่, ที่รวม, ชุมนุม เช่น สัตวกาย (มวลสัตว์) พลกาย (กองกำลังทหาร) รถกาย (กองทหารรถ) ธรรมกาย (ที่รวมหรือที่ชุมนุมแห่งธรรม)


# ที่รวมแห่งอวัยวะทั้งหลาย หรือชุมนุมแห่งรูปธรรม คือ ร่างกาย บางทีเรียกเต็มว่า รูปกาย
# ที่รวมแห่งอวัยวะทั้งหลาย หรือชุมนุมแห่งรูปธรรม คือ ร่างกาย บางทีเรียกเต็มว่า รูปกาย
# ประชุมแห่งนามธรรม หรือกองแห่งเจตสิก เช่น ในคำว่า “กายปัสสัทธิ” (ความสงบเย็นแห่งกองเจตสิก) บางทีเรียกเต็มว่า นามกาย (แต่ในบางกรณี นามกาย หมายถึงนามขันธ์หมดทั้ง ๔ คือ ทั้ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือ ทั้งจิต และเจตสิก); นอกจากความหมายพื้นฐาน ๒ อย่างนี้แล้ว ยังมีความหมายปลีกย่อย และความหมายเฉพาะ ตามข้อความแวดล้อมอีกหลายอย่าง เช่น ในคำว่า “กายสัมผัส” (สัมผัสทางกาย) หมายถึงกายอินทรีย์ที่รับรู้โผฏฐัพพะคือสิ่งต้องกาย, ในคำว่า “กายทุจริต” (ทุจริตด้วยกาย) หมายถึงกายทวารที่ใช้ทำกรรมคือเคลื่อนไหวแสดงออกและทำการต่างๆ, ในคำว่า “กายสุข”(สุขทางกาย) หมายถึงทางทวารทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ซึ่งคู่กับเจโตสุขหรือสุขทางใจ, ในคำว่า “กายภาวนา” (การพัฒนากาย) หมายถึงอินทรียสังวรคือ ความรู้จักปฏิบัติให้ได้ผลดีในการใช้ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ดังนี้ เป็นต้น
# ประชุมแห่งนามธรรม หรือกองแห่งเจตสิก เช่น ในคำว่า “กายปัสสัทธิ” (ความสงบเย็นแห่งกองเจตสิก) บางทีเรียกเต็มว่า นามกาย (แต่ในบางกรณี นามกาย หมายถึงนามขันธ์หมดทั้ง ๔ คือ ทั้ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือ ทั้งจิต และเจตสิก); นอกจากความหมายพื้นฐาน ๒ อย่างนี้แล้ว ยังมีความหมายปลีกย่อย และความหมายเฉพาะ ตามข้อความแวดล้อมอีกหลายอย่าง เช่น ในคำว่า “กายสัมผัส” (สัมผัสทางกาย) หมายถึงกายอินทรีย์ที่รับรู้โผฏฐัพพะคือสิ่งต้องกาย, ในคำว่า “กายทุจริต” (ทุจริตด้วยกาย) หมายถึงกายทวารที่ใช้ทำกรรมคือเคลื่อนไหวแสดงออกและทำการต่างๆ, ในคำว่า “กายสุข”(สุขทางกาย) หมายถึงทางทวารทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ซึ่งคู่กับเจโตสุขหรือสุขทางใจ, ในคำว่า “กายภาวนา” (การพัฒนากาย) หมายถึงอินทรียสังวรคือ ความรู้จักปฏิบัติให้ได้ผลดีในการใช้ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ดังนี้ เป็นต้น



'''กาย''' มี ๓ อย่าง คือ
'''กาย''' มี ๓ อย่าง คือ
บรรทัด 12: บรรทัด 11:
# '''ทิพยกาย''' กายที่เกิดจาก[[กรรม]]นิยาม ( นามธาตุ )คือ [[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น [[พรหม]] [[เทพ]] วิญญาณ [[อสุรกาย]] [[เปรต]] และสัตว์[[นรก]]
# '''ทิพยกาย''' กายที่เกิดจาก[[กรรม]]นิยาม ( นามธาตุ )คือ [[กิเลส]] [[กรรม]] [[วิบาก]] ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น [[พรหม]] [[เทพ]] วิญญาณ [[อสุรกาย]] [[เปรต]] และสัตว์[[นรก]]
# '''นามกาย''' หรือ กายที่เกิดจาก[[ธรรมนิยาม]] ได้แก่ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค อานาปาณกถา [๔๐๓]</ref>
# '''นามกาย''' หรือ กายที่เกิดจาก[[ธรรมนิยาม]] ได้แก่ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค อานาปาณกถา [๔๐๓]</ref>



"''กาย ในคำว่า กาโย มี ๒ คือ นามกาย ๑ รูปกาย ๑ นามกาย เป็นไฉน เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ เป็นนามด้วย เป็นนาม กายด้วย และท่านกล่าวจิตสังขารว่า นี้เป็นนามกาย รูปกายเป็นไฉน มหาภูต รูป ๔ รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ ลมอัสสาสะปัสสาสะ นิมิตร และท่านกล่าวว่า กายสังขารที่เนื่องกัน นี้เป็นรูปกาย'' ฯ"
"''กาย ในคำว่า กาโย มี ๒ คือ นามกาย ๑ รูปกาย ๑ นามกาย เป็นไฉน เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ เป็นนามด้วย เป็นนาม กายด้วย และท่านกล่าวจิตสังขารว่า นี้เป็นนามกาย รูปกายเป็นไฉน มหาภูต รูป ๔ รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ ลมอัสสาสะปัสสาสะ นิมิตร และท่านกล่าวว่า กายสังขารที่เนื่องกัน นี้เป็นรูปกาย'' ฯ"
บรรทัด 26: บรรทัด 24:


[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:41, 1 พฤศจิกายน 2562

กายในทางเถรวาท

กาย กอง, หมวดหมู่, ที่รวม, ชุมนุม เช่น สัตวกาย (มวลสัตว์) พลกาย (กองกำลังทหาร) รถกาย (กองทหารรถ) ธรรมกาย (ที่รวมหรือที่ชุมนุมแห่งธรรม)

  1. ที่รวมแห่งอวัยวะทั้งหลาย หรือชุมนุมแห่งรูปธรรม คือ ร่างกาย บางทีเรียกเต็มว่า รูปกาย
  2. ประชุมแห่งนามธรรม หรือกองแห่งเจตสิก เช่น ในคำว่า “กายปัสสัทธิ” (ความสงบเย็นแห่งกองเจตสิก) บางทีเรียกเต็มว่า นามกาย (แต่ในบางกรณี นามกาย หมายถึงนามขันธ์หมดทั้ง ๔ คือ ทั้ง เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือ ทั้งจิต และเจตสิก); นอกจากความหมายพื้นฐาน ๒ อย่างนี้แล้ว ยังมีความหมายปลีกย่อย และความหมายเฉพาะ ตามข้อความแวดล้อมอีกหลายอย่าง เช่น ในคำว่า “กายสัมผัส” (สัมผัสทางกาย) หมายถึงกายอินทรีย์ที่รับรู้โผฏฐัพพะคือสิ่งต้องกาย, ในคำว่า “กายทุจริต” (ทุจริตด้วยกาย) หมายถึงกายทวารที่ใช้ทำกรรมคือเคลื่อนไหวแสดงออกและทำการต่างๆ, ในคำว่า “กายสุข”(สุขทางกาย) หมายถึงทางทวารทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ซึ่งคู่กับเจโตสุขหรือสุขทางใจ, ในคำว่า “กายภาวนา” (การพัฒนากาย) หมายถึงอินทรียสังวรคือ ความรู้จักปฏิบัติให้ได้ผลดีในการใช้ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ดังนี้ เป็นต้น

กาย มี ๓ อย่าง คือ

  1. สรีรกาย กายที่เกิดจากอุตุนิยาม ( รูปธาตุ )คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ได้แก่ กายของมนุษย์ และสัตว์เดรัจฉาน
  2. ทิพยกาย กายที่เกิดจากกรรมนิยาม ( นามธาตุ )คือ กิเลส กรรม วิบาก ได้แก่ กายของโอปะปาติกะทั้งหลาย เช่น พรหม เทพ วิญญาณ อสุรกาย เปรต และสัตว์นรก
  3. นามกาย หรือ กายที่เกิดจากธรรมนิยาม ได้แก่ เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ[1]

"กาย ในคำว่า กาโย มี ๒ คือ นามกาย ๑ รูปกาย ๑ นามกาย เป็นไฉน เวทนา สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ เป็นนามด้วย เป็นนาม กายด้วย และท่านกล่าวจิตสังขารว่า นี้เป็นนามกาย รูปกายเป็นไฉน มหาภูต รูป ๔ รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ ลมอัสสาสะปัสสาสะ นิมิตร และท่านกล่าวว่า กายสังขารที่เนื่องกัน นี้เป็นรูปกาย ฯ"

อ้างอิง

  • คณะสงฆ์จีนนิกาย.พระพุทธศาสนามหายาน.กรุงเทพ ฯ : ธนาคารกรุงเทพพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ,2531.
  • ประสงค์ แสนบุราณ. พระพุทธศาสนามหายาน. กทม.โอเดียนสโตร์. 2548
  • เสฐียร พันธรังษี.พุทธศาสนามหายาน.กรุงเทพ ฯ : สุขภาพใจ,2543.
  • เสถียร โพธินันทะ.ปรัชญามหายาน.กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2541.
  • อภิชัย โพธิประสิทธิศาสตร์.พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2539.
  • พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ . พิมพ์ครั้งที่ 11,2551
  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค อานาปาณกถา [๔๐๓]