ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายนามจุฬาราชมนตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ตรวจสอบความถูกต้อง}}
{{ตรวจสอบความถูกต้อง}}
{{ขาดอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}


รายนาม[[จุฬาราชมนตรี]]
รายนาม[[จุฬาราชมนตรี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:10, 25 ตุลาคม 2562

รายนามจุฬาราชมนตรี

รายนาม

สมัยกรุงศรีอยุธยา

สมัยกรุงศรีอยุธยา ปรากฏตำแหน่งจุฬาราชมนตรี กรมท่าขวา ในทำเนียบศักดินามาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่ไม่ทราบนามของจุฬาราชมนตรีคนดังกล่าว ต่อมาในรัชสมัยของสมเด็จพระเอกาทศรถก็ปรากฏว่ามีผู้ดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรีอยู่แต่ไม่ปรากฏนามเช่นกัน[1] ในรายชื่อต่อไปนี้เป็นรายชื่อของจุฬาราชมนตรีที่ปรากฏในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นไป ดังนี้

ลำดับ นาม ชื่ออิสลาม ดำรงแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง นิกาย เชื้อสาย หมายเหตุ
1. เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) พ.ศ. 2145 พ.ศ. 2170 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
2. พระยาจุฬาราชมนตรี (แก้ว) พ.ศ. 2199 พ.ศ. 2225 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
3. พระยาจุฬาราชมนตรี (สน) พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2301 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
4. พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) ชีอะฮ์ เปอร์เซีย

สมัยรัตนโกสินทร์

ช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ตำแหน่งราชมนตรีจะเป็นขุนนางฝ่ายขวาซึ่งเป็นลูกหลานวงศ์เฉกอะหมัดซึ่งนับถือนิกายชีอะฮ์ แต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี พ.ศ. 2475 ตำแหน่งจุฬาราชมนตรีจึงตกสู่สามัญชนคือแช่ม พรหมยงค์ ถือเป็นชาวไทยเชื้อสายมลายูและเป็นมุสลิมซุนนีคนแรกที่ได้รับตำแหน่งดังกล่าว และจุฬาราชมนตรีคนหลังจากนี้ทั้งหมดล้วนเป็นมุสลิมนิกายซุนนีอันเป็นนิกายที่ชาวมุสลิมในไทยนับถือ[2]

ลำดับ นาม ชื่ออิสลาม ดำรงแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง นิกาย เชื้อสาย หมายเหตุ
5. พระยาจุฬาราชมนตรี (ก้อนแก้ว) มีระชาโมฮัมหมัดมะอ์ซูม พ.ศ. 2325 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
6. พระยาจุฬาราชมนตรี (อากายี) อามีรระชามุฮัมมัดการีม
มุฮัมมัดกาซิม
ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
7. พระยาจุฬาราชมนตรี (เถื่อน) อามิรระชามุฮัมหมัด ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
8. พระยาจุฬาราชมนตรี (น้อย) มูฮัมหมัดบาเกร 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2410 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
9. พระยาจุฬาราชมนตรี (นาม) มุฮัมหมัดตะกี พ.ศ. 2410 10 มิถุนายน พ.ศ. 2432 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
10. พระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) มิรซากุลามฮูเซ็น พ.ศ. 2432 10 มิถุนายน พ.ศ. 2453 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
11. พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) มิซซาอาลีระชา พ.ศ. 2454 22 เมษายน พ.ศ. 2466 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
12. พระจุฬาราชมนตรี (เกษม อหะหมัดจุฬา) มุฮัมมัดระชา พ.ศ. 2466 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
13. พระจุฬาราชมนตรี (สอน อหะหมัดจุฬา) พ.ศ. 2473 8 เมษายน พ.ศ. 2482 ชีอะฮ์ เปอร์เซีย
14. แช่ม พรหมยงค์ ซำซุดดิน มุสตาฟา พ.ศ. 2488 พ.ศ. 2490 ซุนนี มลายู
15. ต่วน สุวรรณศาสน์ อิสมาแอล ยะห์ยาวี พ.ศ. 2490 22 มีนาคม พ.ศ. 2524 ซุนนี มลายู
16. ประเสริฐ มะหะหมัด อะหมัด บินมะหะหมัด 8 กันยายน พ.ศ. 2524 1 สิงหาคม พ.ศ. 2540 ซุนนี มลายู
17. สวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ อะหมัด มะมูด ซัรกอวี 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 24 มีนาคม พ.ศ. 2553 ซุนนี มลายู
18. อาศิส พิทักษ์คุมพล อับดุลอาซีซ บินอิสมาอีล 6 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ปัจจุบัน ซุนนีซาฟีอีย์ อื่น ๆ [3][4]

สถิติ


อ้างอิง

  1. "จุฬาราชมนตรีคนใหม่ที่ "ไม่ใช่ชาวไทยเชื้อสายมลายู" กับภารกิจดับไฟใต้". อิศรา. 5 มิถุนายน 2553. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. อาลี เสือสมิง (23 พฤษภาคม 2555). "ความเป็นมาและพัฒนาการของผู้ดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรี". อาลี เสือสมิง. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ประวัติจุฬาราชมนตรี". สำนักจุฬาราชมนตรี. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "'อาศิส พิทักษ์คุมพล' เป็นจุฬาราชมนตรีคนใหม่". ไทยรัฐออนไลน์. 16 พฤษภาคม 2553. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)