ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เออิจิโร โอดะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pooriwat1103 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8541799 สร้างโดย Pooriwat1103 (พูดคุย)ก่อเกรียน
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
ในสมัยที่ยังเด็กเรื่องราวของ[[โจรสลัด]]เป็นแรงผลักดันให้อาจารย์เออิจิโรเป็นนักวาดการ์ตูน เมื่ออายุได้ 17 ปี อาจารย์ได้ส่งการ์ตูนเรื่องแรกชื่อเรื่องว่า ว้อนเต้ด (Wanted) และได้รับรางวัล ต่อมาตอนอายุ 19 ปี ได้สมัครเป็นผู้ช่วย อาจารย์[[โนบูฮิโระ วัตสึกิ]]ผู้วาดการ์ตูนเรื่อง[[ซามูไรพเนจร]] ในช่วงเวลานั้นได้วาดการ์ตูนเรื่อง โรแมนซ์ ดอว์น (Romance Dawn) ซึ่งเป็นเรื่องต้นฉบับของวันพีซ และในปี 1997 วันพีซได้ตีพิมพ์ลงนิตยสารการ์ตูน [[โชเนนจัมป์]]ครั้งแรก และได้กลายมาเป็นการ์ตูนที่โด่งดังอันดับต้น ๆ ของญี่ปุ่น [[ลายเส้น]]ของ[[วันพีซ]]ได้รับแรงบันดาลใจมากจากการ์ตูนเรื่อง[[ดราก้อนบอล]]และ[[ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่]] ของอาจารย์[[อากิระ โทริยามะ]]
ในสมัยที่ยังเด็กเรื่องราวของ[[โจรสลัด]]เป็นแรงผลักดันให้อาจารย์เออิจิโรเป็นนักวาดการ์ตูน เมื่ออายุได้ 17 ปี อาจารย์ได้ส่งการ์ตูนเรื่องแรกชื่อเรื่องว่า ว้อนเต้ด (Wanted) และได้รับรางวัล ต่อมาตอนอายุ 19 ปี ได้สมัครเป็นผู้ช่วย อาจารย์[[โนบูฮิโระ วัตสึกิ]]ผู้วาดการ์ตูนเรื่อง[[ซามูไรพเนจร]] ในช่วงเวลานั้นได้วาดการ์ตูนเรื่อง โรแมนซ์ ดอว์น (Romance Dawn) ซึ่งเป็นเรื่องต้นฉบับของวันพีซ และในปี 1997 วันพีซได้ตีพิมพ์ลงนิตยสารการ์ตูน [[โชเนนจัมป์]]ครั้งแรก และได้กลายมาเป็นการ์ตูนที่โด่งดังอันดับต้น ๆ ของญี่ปุ่น [[ลายเส้น]]ของ[[วันพีซ]]ได้รับแรงบันดาลใจมากจากการ์ตูนเรื่อง[[ดราก้อนบอล]]และ[[ดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่]] ของอาจารย์[[อากิระ โทริยามะ]]


จากผลงานเรื่องวันพีซอันประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลนี้เอง ทำให้โอดะ กลายเป็นนักเขียนการ์ตูนที่ร่ำรวยที่สุดคนหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2553 ปีเดียว โอดะมีรายได้จากยอดขายและค่าลิขสิทธิ์รวมกัน,มากกว่า 2,000 ล้านเยน (720 ล้านบาท)<ref>[http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9530000180299 ผู้เขียน One Piece โกยเงิน 2,000,000,000 เยนต่อปี]</ref>
ในปี พ.ศ.2545 ชิอากิ อินาดะ คอสเพลย์เป็นนามิใน jump festa ปี 2002 ทำให้ทั้งคู่ได้รู้จักกัน เมื่อเป็นดังนั้น ทำให้โอดะเกิดความหื่น เเละจับชิอากิทำเมียเเบบขำๆ

จากผลงานเรื่องวันพีซอันประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลนี้เอง ทำให้โอดะ กลายเป็นนักเขียนการ์ตูนที่ร่ำรวยที่สุดคนหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2553 ปีเดียว โอดะมีรายได้จากยอดขายและค่าลิขสิทธิ์รวมกัน,มากกว่า 2,000 ล้านเยน (720 ล้านบาท)<ref>[http://www.manager.co.th/Entertainment/ViewNews.aspx?NewsID=9530000180299 ผู้เขียน One Piece โกยเงิน 2,000,000,000 เยนต่อปี]</ref>


== ผลงาน ==
== ผลงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:19, 15 ตุลาคม 2562

เออิจิโร โอดะ
尾田栄一郎
เกิด1 มกราคม พ.ศ. 2518 (49 ปี)
เมืองคูมาโมโตะ จังหวัดคูมาโมโตะ ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
อาชีพนักเขียนการ์ตูน
ปีปฏิบัติงานพ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน
นายจ้างชูเอชะ
มีชื่อเสียงจากผู้แต่งและเขียน One Piece
คู่สมรสชิอากิ อินาบะ
บุตร2
ลายมือชื่อ

เออิจิโร โอดะ (ญี่ปุ่น: 尾田栄一郎โรมาจิOda Eiichirō) เกิดวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2518 ในเมืองคูมาโมโตะ เป็นนักวาดการ์ตูนมีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง วันพีซ

ในสมัยที่ยังเด็กเรื่องราวของโจรสลัดเป็นแรงผลักดันให้อาจารย์เออิจิโรเป็นนักวาดการ์ตูน เมื่ออายุได้ 17 ปี อาจารย์ได้ส่งการ์ตูนเรื่องแรกชื่อเรื่องว่า ว้อนเต้ด (Wanted) และได้รับรางวัล ต่อมาตอนอายุ 19 ปี ได้สมัครเป็นผู้ช่วย อาจารย์โนบูฮิโระ วัตสึกิผู้วาดการ์ตูนเรื่องซามูไรพเนจร ในช่วงเวลานั้นได้วาดการ์ตูนเรื่อง โรแมนซ์ ดอว์น (Romance Dawn) ซึ่งเป็นเรื่องต้นฉบับของวันพีซ และในปี 1997 วันพีซได้ตีพิมพ์ลงนิตยสารการ์ตูน โชเนนจัมป์ครั้งแรก และได้กลายมาเป็นการ์ตูนที่โด่งดังอันดับต้น ๆ ของญี่ปุ่น ลายเส้นของวันพีซได้รับแรงบันดาลใจมากจากการ์ตูนเรื่องดราก้อนบอลและดร.สลัมป์กับหนูน้อยอาราเล่ ของอาจารย์อากิระ โทริยามะ

จากผลงานเรื่องวันพีซอันประสบความสำเร็จอย่างมหาศาลนี้เอง ทำให้โอดะ กลายเป็นนักเขียนการ์ตูนที่ร่ำรวยที่สุดคนหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2553 ปีเดียว โอดะมีรายได้จากยอดขายและค่าลิขสิทธิ์รวมกัน,มากกว่า 2,000 ล้านเยน (720 ล้านบาท)[1]

ผลงาน

  • One Piece (1997)
  • Wanted! (1998, หนังสือรวมเรื่องสั้น)
    • Wanted! (1992)
    • God's Present for the Future (1993)
    • Ikki Yakou (1993)
    • Monsters (1994)
    • Romance Dawn (Version 2, 1996)
  • Dragon Ball x One Piece: Cross Epoch (2007)
  • One Piece x Toriko (2011)

อ้างอิง