ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ''' รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[จังหวัดศรีสะเกษ]]
'''นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ''' รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ใน[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 59 ของไทย|รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ]] และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รวม 3 สมัย


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 25: บรรทัด 25:


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==
นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ สังกัด[[พรรคความหวังใหม่]] ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2539|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2539]] ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2544]] จึงย้ายมาลงสมัครและได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00010521.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ]</ref>
นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ สังกัด[[พรรคความหวังใหม่]] ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2539|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2539]] ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้ง พ.ศ. 2544]] จึงย้ายมาลงสมัครและได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคไทยรักไทย]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00010521.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ]</ref>


นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2538<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/D/074/79.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๓๕/๒๕๓๘ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง]</ref> และรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=91878&pdate=2009/06/09&pno=1&pagegroup=1/ แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ]</ref> และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2553]] ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000079608&Keyword=%c0%d9%c1%d4%b9%b7%c3%ec “ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน]</ref>
นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2538<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/D/074/79.PDF คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๓๕/๒๕๓๘ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง]</ref> และรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 <ref>[http://www.soc.soc.go.th/SLK/showlist3.asp?pagecode=91878&pdate=2009/06/09&pno=1&pagegroup=1/ แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ]</ref> และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2553]] ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9530000079608&Keyword=%c0%d9%c1%d4%b9%b7%c3%ec “ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:50, 15 ตุลาคม 2562

นายแพทย์ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
ไฟล์:ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ.jpg
รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ดำรงตำแหน่ง
9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553
นายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 (60 ปี)
จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองพลังประชารัฐ

นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ รวม 3 สมัย

ประวัติ

นายแพทย์ภูมินทร์ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ที่ตำบลบัวใหญ่ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา[1] ปัจจุบันพำนักที่ตำบลหนองหญ้าลาด อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ สำเร็จการศึกษาจากแพทยศาสตรบัณฑิต (ศิริราช) มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปีการศึกษา 2529 (ร่วมรุ่นกับ นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว และ นายแพทย์บัญญัติ เจตนจันทร์)

การทำงาน

นายแพทย์ภูมินทร์ เข้าสู่การเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ สังกัดพรรคความหวังใหม่ ในการเลือกตั้งเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 และการเลือกตั้ง พ.ศ. 2539 ต่อมาในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 จึงย้ายมาลงสมัครและได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคไทยรักไทย[2]

นายแพทย์ภูมินทร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2538[3] และรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 [4] และ ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ซึงเป็นเป็นการทำงานครบ 1 ปี ของ นายแพทย์ภูมินทร์[5]

ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้ลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ เขตเลือกตั้งที่ 3 (อำเภอกันทรลักษ์ ยกเว้นตำบลภูเงิน) ในสังกัดพรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง โดยแพ้ให้กับนางอุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ จากพรรคภูมิใจไทย เพียง 500 คะแนน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. ประวัติผู้สมัคร ส.ส.
  2. ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
  3. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๓๕/๒๕๓๘ เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการการเมือง
  4. แต่งตั้งข้าราชการการเมือง (นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ
  5. “ภูมินทร์” ไขก๊อกเก้าอี้รองโฆษกฯ ประชด “มาร์ค” ป้องภูมิใจห้อย ในสังกัดพรรคเพื่อแผ่นดิน
  6. ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๕) เล่ม 119 ตอนที่ 21ข วันที่ 4 ธันวาคม 2545
  7. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ จำนวน ๔,๘๙๖ ราย)

แหล่งข้อมูลอื่น