ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ฝ''' (ฝา) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 29 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ผ]] (ผึ้ง) และก่อนหน้า [[พ]] (พาน) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฝ ฝา”
'''ฝ''' (ฝา) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 29 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ผ]] (ผึ้ง) และก่อนหน้า [[พ]] (พาน) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฝ ฝา”


อักษร ฝ ปรากฏในตำแหน่ง[[พยัญชนะต้น]] โดยใช้แทนเสียง [f]
อักษร "ฝ" เป็นอักษรไทยแท้ โดยรับมาจากภาษาจีนยุคกลาง (อย่าสับสนกับ[[ภาษาจีนกลาง|จีนแมนดาริน]]) สำหรับพยัญชนะต้นภาษาไทยกลางทุกถิ่นออก[[เสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ไม่ก้อง|เสียงเสียดแทรกริมฝีปากกับฟันไม่ก้อง]] /f/ แต่ภาษาไทยใต้ทุกถิ่นเป็นเสียง[[เสียงเสียดแทรก ริมฝีปากกับฟัน ก้อง|เสียงเสียดแทรกริมฝีปากกับฟันก้อง]] /v/ และตัวสะกดเป็นเสียงเดียวกันคือ /p̚/


พจนานุกรมบางเล่มใช้ ฝ ถอดเสียง v ในคำศัพท์ที่มาจาก[[ภาษาอังกฤษ]] เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่าง f, w และ v
พจนานุกรมบางเล่มใช้ ฝ ถอดเสียง v ในคำศัพท์ที่มาจาก[[ภาษาอังกฤษ]] เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่าง f, w และ v

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:02, 12 ตุลาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(ฝา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 29 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (ผึ้ง) และก่อนหน้า (พาน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฝ ฝา”

อักษร ฝ ปรากฏในตำแหน่งพยัญชนะต้น โดยใช้แทนเสียง [f]

พจนานุกรมบางเล่มใช้ ฝ ถอดเสียง v ในคำศัพท์ที่มาจากภาษาอังกฤษ เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่าง f, w และ v