ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยลีก ฤดูกาล 2563–64"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gotutd69 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Earthpanot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 150: บรรทัด 150:
|}
|}


{{-}}
=== ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน ===
=== ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน ===
{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:17, 10 ตุลาคม 2562

ไทยลีก
ไฟล์:Thai League Logo.svg
ฤดูกาล2563
2562

ไทยลีก ฤดูกาล 2563 หรือ โตโยต้า ไทยลีก ฤดูกาล 2563 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ โตโยต้า เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกฤดูกาลที่ 24 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยมีสโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขันจำนวน 16 สโมสร

สโมสร

ทั้งหมด 16 สโมสรที่ได้สิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันในฤดูกาลนี้ โดยแบ่งเป็น 13 สโมสร จากไทยลีก ฤดูกาล 2562 และ 3 สโมสรอันดับแรกจากไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 ได้แก่ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ซึ่งได้กลับมาเล่นในไทยลีกอีกครั้งหลังจากตกชั้นไปในฤดูกาล 2561[1]

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2562
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) แพตสเตเดียม 8,000
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,600
ตราด ตราด สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 5,000
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี (คลองหลวง) สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต 19,375
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ปทุมธานี (ธัญบุรี) ลีโอสเตเดียม 9,000 1 (ไทยลีก 2)
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ ช้างอารีนา 32,600
พีที ประจวบ ประจวบคีรีขันธ์ สามอ่าวสเตเดียม 5,000
พีทีที ระยอง ระยอง พีทีทีสเตเดียม 12,161
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี มิตรผลสเตเดียม 10,000
สมุทรปราการ ซิตี้ สมุทรปราการ (บางพลี) สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี 5,100
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ สเตเดียม 13,000
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี (ปากเกร็ด) เอสซีจีสเตเดียม 13,000

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุน
การท่าเรือ ไทย โชคทวี พรหมรัตน์ ไทย ศิวกร จักขุประสาท[a] แกรนด์สปอร์ต เมืองไทยประกันภัย, ลีโอ, แอร์เอเชีย, ซื่อสัตย์1, ซิสเท็มมา1, สมุนไพรวังพรม1, เมืองไทยประกันชีวิต2, ทีคิวเอ็ม อินชัวรันส์ โบรกเกอร์2
ชลบุรี ไทย สะสม พบประเสริฐ ไทย เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์ ไนกี้ ช้าง, ไดกิน1, แอร์เอเชีย2, เอไอเอ2
ตราด ไทย พยงค์ ขุนเณร ไทย พิชิต ใจบุญ แกรนด์สปอร์ต ซีพี, บางกอกแอร์เวย์1
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล อาเลชังดรี ปอลกิง ไทย แอนโธนี อำไพพิทักษ์วงศ์ อาริ ทรู, หัวเว่ย, ไดกิน1, ซีพี2
บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ไทย ดุสิต เฉลิมแสน ไทย สุรชาติ สารีพิมพ์ ไนกี้ ลีโอ
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด มอนเตเนโกร โบซีดาร์ บันโดวิช ไทย สุเชาว์ นุชนุ่ม ช้าง, โคคา-โคล่า1, ซีพี2, เมืองไทยประกันชีวิต2
พีที ประจวบ ไทย ธวัชชัย ดำรงค์อ่องตระกูล ไทย อดุลย์ หมื่นสมาน วอริกซ์ พีที, ลีโอ2
พีทีที ระยอง ไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น ไทย อภิภู สุนทรพนาเวศ วอริกซ์ ปตท., คาเฟ่ อเมซอน2
ราชบุรี มิตรผล ไทย สมชาย ไม้วิลัย (รักษาการ) ไทย ฟิลิป โรลเลอร์ มิตรผล, คูโบต้า1, เอไอเอ2
สมุทรปราการ ซิตี้ ญี่ปุ่น เท็ตซูยะ มูรายามะ ไทย พีรดนย์ ฉ่ำรัศมี อาริ ซันวา, กุ๊ก1, แอร์เอเชีย2
สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล ไอล์ตง ซิลวา ไทย ธนะศักดิ์ ศรีใส เอฟบีที ลีโอ, บางกอกแอร์เวย์, บีจีเอฟ2
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด บราซิล อาเลชังดรี กามา ไทย ธีรศิลป์ แดงดา แกรนด์สปอร์ต เอสซีจี, ยามาฮ่า, โคคา-โคล่า1, ลีโอ2
1. ^ บนด้านหลังเสื้อ
2. ^ บนแขนเสื้อ
3. ^ บนกางเกง
  1. เนื่องจากดาบิด โรเชลา กัปตันทีม ไม่ได้ลงทะเบียนเป็นผู้เล่นในการแข่งขันไทยลีก[2]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

ตารางคะแนน

อันดับ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (C, Q) 30 24 5 1 54 13 +41 77 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม[a]
2 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (Q) 30 20 3 7 63 26 +37 63 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
3 การท่าเรือ (Q) 30 17 5 8 58 36 +22 56
4 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (Q) 30 16 6 8 48 32 +16 54 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม[a]
5 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 30 15 6 9 57 39 +18 51
6 สมุทรปราการ ซิตี้ 30 14 5 11 58 51 +7 47[b]
7 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 30 14 5 11 52 43 +9 47[b]
8 ราชบุรี มิตรผล 30 13 7 10 48 41 +7 46
9 นครราชสีมา มาสด้า 30 11 9 10 40 41 −1 42
10 พีที ประจวบ 30 10 7 13 35 47 −12 37
11 โปลิศ เทโร 30 10 6 14 32 50 −18 36
12 ชลบุรี 30 9 5 16 30 46 −16 32
13 สุพรรณบุรี 30 9 3 18 33 47 −14 30
14 สุโขทัย (R) 30 8 4 18 40 57 −17 28 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2564–65
15 ตราด (R) 30 4 5 21 31 64 −33 17
16 ระยอง (R) 30 4 3 23 24 69 −45 15
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 28 มีนาคม 2564. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ถ้ายังไม่จบฤดูกาล 1. คะแนนรวม 2. ผลต่างประตูได้-เสีย 3. ประตูที่ทำได้ 4. จำนวนนัดที่ชนะ
ถ้าจบฤดูกาลแล้ว 1. คะแนนรวม 2. ผลเฮด-ทู-เฮด/มินิลีก 3. ผลต่างประตูได้-เสีย 4. ประตูที่ทำได้ 5. คะแนนแฟร์เพลย์ 6. เพลย์ออฟไม่ต่อเวลาพิเศษ ดวลจุดโทษทันทีถ้าเสมอ[3]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 เชียงราย ยูไนเต็ด ได้เข้าแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2022 รอบแบ่งกลุ่ม ในฐานะทีมที่ชนะเลิศ ช้าง เอฟเอคัพ 2563–64
  2. 2.0 2.1 สมุทรปราการ ซิตี้ มีผลเฮด-ทู-เฮดดีกว่า เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด: เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 0–0 สมุทรปราการ ซิตี้, สมุทรปราการ ซิตี้ 4–2 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด


อ้างอิง

  1. "BREAKING! บีจียำลำปาง 7-1 คัมแบ็คโตโยต้าไทยลีก". โกล ประเทศไทย. 14 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. "OFFICIAL : การท่าเรือหั่น "กัปตันโรเชลา" เปิดทางโรลันโด้". โกล ประเทศไทย. 13 กรกฎาคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  3. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ "ไทยลีก 1" พ.ศ. 2562" (PDF). thaileague.co.th. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. 23 มกราคม 2562. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)