ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Estatesgeneral.jpg|340px|thumb|พิธีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ [[พระราชวังแวร์ซาย]] กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789]]
[[ไฟล์:Estatesgeneral.jpg|340px|thumb|พิธีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ [[พระราชวังแวร์ซาย]] กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789]]
[[ไฟล์:Couder Stati generali.jpg|thumb|340px|การสาบานตนเข้ารับตำแหน่งสมาชิกสภาฐานันดร 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789]]
[[ไฟล์:Couder Stati generali.jpg|thumb|340px|การสาบานตนเข้ารับตำแหน่งสมาชิกสภาฐานันดร 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789]]
'''การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789''' ({{lang-fr|États généraux de 1789}}) เป็นการประชุม[[สภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)|สภาฐานันดรฝรั่งเศส]]ครั้งแรกตั้งแต่ปีค.ศ. 1614 สภาฐานันดรเป็นสมัชชาใหญ่อันประกอบด้วยผู้แทน 1,200 คนจากสาม[[ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร]] อันได้แก่ นักบวช (ฐานันดรที่หนึ่ง), ขุนนาง (ฐานันดรที่สอง), และสามัญชน (ฐานันดรที่สาม)
'''การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789''' ({{lang-fr|''États généraux de 1789''}}) เป็นการประชุม[[สภาฐานันดร (ประเทศฝรั่งเศส)|สภาฐานันดรฝรั่งเศส]]ครั้งแรกตั้งแต่ปีค.ศ. 1614 สภาฐานันดรเป็นสมัชชาใหญ่อันประกอบด้วยผู้แทน 1,200 คนจากสาม[[ฐานันดรแห่งราชอาณาจักร]] อันได้แก่ นักบวช (ฐานันดรที่หนึ่ง), ขุนนาง (ฐานันดรที่สอง), และสามัญชน (ฐานันดรที่สาม)


[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] ทรงเรียกประชุมเพื่อเสนอทางออกแก่ปัญหาการเงินของราชสำนัก สภาฐานันดรมีการประชุมกันเป็นเวลาหลายสัปดาห์ตั้งแต่พฤษภาคมจนถึงมิถุนายน ค.ศ. 1789 การประชุมนี้มีข้อติดขัดตั้งวาระแรกของสมัยประชุม วาระนี้คือการพิจารณาระเบียบการออกเสียงว่าจะใช้ระบบเช่นใด ระหว่าง ระบบแรกคือฐานันดรทั้งสามจะออกเสียงได้ฐานันดรละหนึ่งเสียง อันจะให้ความได้เปรียบแก่สองฐานันดรแรกและต้องพระประสงค์ขององค์กษัตริย์ หรือระบบที่สองคือให้ผู้แทนทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียงเท่ากัน อันจะทำให้ฐานันดรที่สามซึ่งมีจำนวนสมาชิกมากสุดได้เปรียบ
[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] ทรงเรียกประชุมเพื่อเสนอทางออกแก่ปัญหาการเงินของราชสำนัก สภาฐานันดรมีการประชุมกันเป็นเวลาหลายสัปดาห์ตั้งแต่พฤษภาคมจนถึงมิถุนายน ค.ศ. 1789 การประชุมนี้มีข้อติดขัดตั้งวาระแรกของสมัยประชุม วาระนี้คือการพิจารณาระเบียบการออกเสียงว่าจะใช้ระบบเช่นใด ระหว่าง ระบบแรกคือฐานันดรทั้งสามจะออกเสียงได้ฐานันดรละหนึ่งเสียง อันจะให้ความได้เปรียบแก่สองฐานันดรแรกและต้องพระประสงค์ขององค์กษัตริย์ หรือระบบที่สองคือให้ผู้แทนทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียงเท่ากัน อันจะทำให้ฐานันดรที่สามซึ่งมีจำนวนสมาชิกมากสุดได้เปรียบ


การประชุมสภาฐานันดรดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อฐานันดรที่สามแยกไปตั้ง[[สภากงว็องซียงแห่งชาติ|สมัชชาแห่งชาติ]] (National Assembly) ทั้งเชิญอีกสองฐานันดรเข้าร่วมซึ่งขัดต่อพระราชประสงค์ อันเป็นสัญญาณการเกิด[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]
การประชุมสภาฐานันดรดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อฐานันดรที่สามแยกไปตั้ง[[สมัชชาแห่งชาติ (การปฏิวัติฝรั่งเศส)|สมัชชาแห่งชาติ]] (''Assemblée nationale'') ทั้งเชิญอีกสองฐานันดรเข้าร่วมซึ่งขัดต่อพระราชประสงค์ อันเป็นสัญญาณการเกิด[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]


{{การปฏิวัติฝรั่งเศส}}
{{การปฏิวัติฝรั่งเศส}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:57, 3 ตุลาคม 2562

พิธีเปิดสมัยการประชุมสภาฐานันดร ณ พระราชวังแวร์ซาย กรุงปารีส 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789
การสาบานตนเข้ารับตำแหน่งสมาชิกสภาฐานันดร 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1789

การประชุมสภาฐานันดร ค.ศ. 1789 ([États généraux de 1789] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) เป็นการประชุมสภาฐานันดรฝรั่งเศสครั้งแรกตั้งแต่ปีค.ศ. 1614 สภาฐานันดรเป็นสมัชชาใหญ่อันประกอบด้วยผู้แทน 1,200 คนจากสามฐานันดรแห่งราชอาณาจักร อันได้แก่ นักบวช (ฐานันดรที่หนึ่ง), ขุนนาง (ฐานันดรที่สอง), และสามัญชน (ฐานันดรที่สาม)

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ทรงเรียกประชุมเพื่อเสนอทางออกแก่ปัญหาการเงินของราชสำนัก สภาฐานันดรมีการประชุมกันเป็นเวลาหลายสัปดาห์ตั้งแต่พฤษภาคมจนถึงมิถุนายน ค.ศ. 1789 การประชุมนี้มีข้อติดขัดตั้งวาระแรกของสมัยประชุม วาระนี้คือการพิจารณาระเบียบการออกเสียงว่าจะใช้ระบบเช่นใด ระหว่าง ระบบแรกคือฐานันดรทั้งสามจะออกเสียงได้ฐานันดรละหนึ่งเสียง อันจะให้ความได้เปรียบแก่สองฐานันดรแรกและต้องพระประสงค์ขององค์กษัตริย์ หรือระบบที่สองคือให้ผู้แทนทุกคนมีสิทธิ์ออกเสียงเท่ากัน อันจะทำให้ฐานันดรที่สามซึ่งมีจำนวนสมาชิกมากสุดได้เปรียบ

การประชุมสภาฐานันดรดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อฐานันดรที่สามแยกไปตั้งสมัชชาแห่งชาติ (Assemblée nationale) ทั้งเชิญอีกสองฐานันดรเข้าร่วมซึ่งขัดต่อพระราชประสงค์ อันเป็นสัญญาณการเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส