ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นนัซกา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nomedizas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ลายเส้นนาสก้าเป็นการขอฝน
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
ลายเส้นนัซกาที่ทำขึ้นเป็นแบบวิธีเดียวกันหมด คือ ขุดเอา[[หินทราย]]สีแดงบนพื้นผิว[[ทะเลทราย]]ออก แล้วเปิดให้เห็นชั้นหินสีเหลืองอ่อนที่อยู่ข้างใน ไม่มีร่องรอยการใช้สัตว์ช่วยแม้แต่น้อย และภาพเป็นเส้นเดียวไม่ขาดตอน ภาพของลายเส้นนัซกาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือภาพที่เป็นรูปทรงและภาพที่เป็นเส้นลายเฉย ๆ มีภาพ[[สัตว์]] [[นก]] รูป[[เรขาคณิต]] เป็นต้น
ลายเส้นนัซกาที่ทำขึ้นเป็นแบบวิธีเดียวกันหมด คือ ขุดเอา[[หินทราย]]สีแดงบนพื้นผิว[[ทะเลทราย]]ออก แล้วเปิดให้เห็นชั้นหินสีเหลืองอ่อนที่อยู่ข้างใน ไม่มีร่องรอยการใช้สัตว์ช่วยแม้แต่น้อย และภาพเป็นเส้นเดียวไม่ขาดตอน ภาพของลายเส้นนัซกาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือภาพที่เป็นรูปทรงและภาพที่เป็นเส้นลายเฉย ๆ มีภาพ[[สัตว์]] [[นก]] รูป[[เรขาคณิต]] เป็นต้น


เส้นนัซกาได้ขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในปี [[พ.ศ. 2537]] หมายเหตุ. ปัญญา. ลินทา สันนิิฐานว่า. เมื่อ อาณาจักรอินคาอันรุ่งเรืองต้องประสบกับความแห้งแล้งที่ รุนแรงและยาวนาน ผู้คนต่างอดอยากและขาดแคลน ผู้ครองนครได้ประชุมขุนนางและมีความเห็นตรงก้นว่า พระผู้เป็นเจ้าอาจหลงลืมพวกเขาจึงจำเป็นอย่างยิ่ง ทีทุกเผ่า จะต้องสร้างสัญลักษ์ขึ้นมาเพื่อให้พระผู้เป็นเจ้ารู้ ว่ามีสิ่่งมีชีวิตมากมายอยู่ที่นีี่. จะได้ประทานฝนมาให้ แต่พระผูู้เป็นเจ้าอาจอยูสูงและไกล จึงต้องทำสัญลักษ์ขนาดใหญ่ พระผู้เป็นเจ้าจะได้มองเห็น หรืออาจช่วยกันทำเสียงดังเพื่อให้พระผูู้เป็นเจ้าได้ยิน หรือการทำพิธีบูชายัญเพื่อให้พระผู้เป็นจ้าพอใจ แต่พระผูู้เป็นเจ้าอาจอพยพไปอยูู่ที่อื่นนานแล้ว
เส้นนัซกาได้ขึ้นทะเบียนเป็น[[มรดกโลก]]ในปี [[พ.ศ. 2537]]









== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:13, 19 กันยายน 2562

ลายเส้นและรูปวาดบนพื้นดินแห่งนัซกาและปัมปัสเดฆูมานา *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ลายเส้นรูปลิง
ประเทศธงของประเทศเปรู เปรู
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(i), (iii), (iv)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2537 (คณะกรรมการสมัยที่ 18)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

เส้นนัซกา (สเปน: líneas de Nazca) เป็นลายเส้นลึกลับที่กินอาณาเขตพื้นที่กว่า 520 ตารางกิโลเมตรบนทะเลทรายนัซกา ระหว่างเมืองนัซกากับเมืองปัลปาในแคว้นอิกา ประเทศเปรู สันนิษฐานว่าชาวนัซกาโบราณ (ซึ่งครอบครองดินแดนเปรูมาก่อนยุคจักรวรรดิอินคา) ขุดลายเส้นเหล่านี้ขึ้นเมื่อประมาณ 200 ปีก่อนคริสตกาลถึงประมาณปี ค.ศ. 500 ชาวนัซกาโบราณเป็นเกษตรกรเพาะปลูกอยู่บนที่ราบชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก ไม่ได้ทิ้งหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรไว้เลย ที่พอจะเข้าใจได้บ้างก็มาจากการศึกษาสุสานและข้าวของเครื่องใช้ในหลุมฝังศพเท่านั้น ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าเพราะเหตุใดพวกเขาจึงทำลวดลายเหล่านี้ขึ้น

ลายเส้นนัซกาที่ทำขึ้นเป็นแบบวิธีเดียวกันหมด คือ ขุดเอาหินทรายสีแดงบนพื้นผิวทะเลทรายออก แล้วเปิดให้เห็นชั้นหินสีเหลืองอ่อนที่อยู่ข้างใน ไม่มีร่องรอยการใช้สัตว์ช่วยแม้แต่น้อย และภาพเป็นเส้นเดียวไม่ขาดตอน ภาพของลายเส้นนัซกาแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือภาพที่เป็นรูปทรงและภาพที่เป็นเส้นลายเฉย ๆ มีภาพสัตว์ นก รูปเรขาคณิต เป็นต้น

เส้นนัซกาได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี พ.ศ. 2537 หมายเหตุ. ปัญญา. ลินทา สันนิิฐานว่า. เมื่อ อาณาจักรอินคาอันรุ่งเรืองต้องประสบกับความแห้งแล้งที่ รุนแรงและยาวนาน ผู้คนต่างอดอยากและขาดแคลน ผู้ครองนครได้ประชุมขุนนางและมีความเห็นตรงก้นว่า พระผู้เป็นเจ้าอาจหลงลืมพวกเขาจึงจำเป็นอย่างยิ่ง ทีทุกเผ่า จะต้องสร้างสัญลักษ์ขึ้นมาเพื่อให้พระผู้เป็นเจ้ารู้ ว่ามีสิ่่งมีชีวิตมากมายอยู่ที่นีี่. จะได้ประทานฝนมาให้ แต่พระผูู้เป็นเจ้าอาจอยูสูงและไกล จึงต้องทำสัญลักษ์ขนาดใหญ่ พระผู้เป็นเจ้าจะได้มองเห็น หรืออาจช่วยกันทำเสียงดังเพื่อให้พระผูู้เป็นเจ้าได้ยิน หรือการทำพิธีบูชายัญเพื่อให้พระผู้เป็นจ้าพอใจ แต่พระผูู้เป็นเจ้าอาจอพยพไปอยูู่ที่อื่นนานแล้ว





แหล่งข้อมูลอื่น