ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลำเซบาย"

พิกัด: 15°19′14″N 105°30′29″E / 15.320556°N 105.508056°E / 15.320556; 105.508056
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ชวลิต ประกอบสุข (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| watershed_area =
| watershed_area =
| irrigation_area =
| irrigation_area =
| length = 200 [[กิโลเมตร|กม.]]
| length = 233 [[กิโลเมตร|กม.]]
| passing_territories =
| passing_territories =
| source_name = ที่ราบสูง
| source_name = ที่ราบสูง
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
| avrwaterquan_parea =
| avrwaterquan_parea =
}}
}}
'''ลำเซบาย''' เป็น[[ลำน้ำ]]สาขาของ[[แม่น้ำมูล]]ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ของ[[ประเทศไทย]] ความยาว 200 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำประมาณ 3,132 ตร.กม. หรือคิดเป็น 1,957,731 ไร่ โดยคำว่า '''เซบาย''' มากจากภาษาลาวอีสาน อันมี 2 คำรวมกันคือ "เซ" แปลว่า แม่น้ำ ลำน้ำ ส่วน "บาย" สันนิษฐานมาจากคำว่า การจับ , แตะต้อง (รอการอ้างอิงที่ชัดเจน) ครอบคลุมพื้นที่[[จังหวัดยโสธร]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] บางส่วนของ[[จังหวัดมุกดาหาร]] และบางส่วนของ[[จังหวัดร้อยเอ็ด]]
'''ลำเซบาย''' เป็น[[ลำน้ำ]]สาขาของ[[แม่น้ำมูล]]ใน[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]ของ[[ประเทศไทย]] ความยาว 233 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำประมาณ 3,132 ตร.กม. หรือคิดเป็น 1,957,731 ไร่ โดยคำว่า '''เซบาย''' มากจากภาษาลาวอีสาน อันมี 2 คำรวมกันคือ "เซ" แปลว่า แม่น้ำ ลำน้ำ ส่วน "บาย" สันนิษฐานมาจากคำว่า การจับ , แตะต้อง (รอการอ้างอิงที่ชัดเจน) ครอบคลุมพื้นที่[[จังหวัดยโสธร]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] บางส่วนของ[[จังหวัดมุกดาหาร]] และบางส่วนของ[[จังหวัดร้อยเอ็ด]]


== เส้นทางแม่น้ำ ==
== เส้นทางแม่น้ำ ==
ลำเซบายมีต้นกำเนิดจากสันปันน้ำของลุ่มน้ำเซบายและลุ่มน้ำห้วยบังอี่บริเวณพื้นที่ตำบลกุดเชียงหมี [[อำเภอเลิงนกทา]] [[จังหวัดยโสธร]] ไหลผ่าน[[อำเภอไทยเจริญ]] [[อำเภอป่าติ้ว]] [[อำเภอคำเขื่อนแก้ว]] จังหวัดยโสธร [[อำเภอเสนางคนิคม]] [[อำเภอหัวตะพาน]] [[อำเภอเมืองอำนาจเจริญ]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] [[อำเภอเขื่องใน]] [[อำเภอม่วงสามสิบ]] และไหลไปรวมกับแม่น้ำมูลที่บ้านทุ่งขุนน้อย ตำบลแจระแม [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ซึ่งใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ มีปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติประมาณปีละ 1,666 ล้าน ลบ.ม. หรือประมาณร้อยละ 8.54 ของปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติทั้งหมดของลุ่มน้ำมูล
ลำเซบายมีต้นกำเนิดจากสันปันน้ำของลุ่มน้ำเซบายและลุ่มน้ำห้วยบังอี่บริเวณพื้นที่ตำบลกุดเชียงหมี [[อำเภอเลิงนกทา]] [[จังหวัดยโสธร]] ไหลผ่าน[[อำเภอไทยเจริญ]] [[อำเภอป่าติ้ว]] [[อำเภอคำเขื่อนแก้ว]] จังหวัดยโสธร [[อำเภอเสนางคนิคม]] [[อำเภอหัวตะพาน]] [[อำเภอเมืองอำนาจเจริญ]] [[จังหวัดอำนาจเจริญ]] [[อำเภอเขื่องใน]] [[อำเภอม่วงสามสิบ]] และไหลไปรวมกับแม่น้ำมูลที่บ้านทุ่งขุนน้อย ตำบลแจระแม [[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] มีความยาวประมาณ 233 กิโลเมตร ซึ่งใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ มีปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติประมาณปีละ 1,666 ล้าน ลบ.ม. หรือประมาณร้อยละ 8.54 ของปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติทั้งหมดของลุ่มน้ำมูล


== ฝายสำคัญที่ในลุ่มน้ำ ==
== ฝายสำคัญที่ในลุ่มน้ำ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:28, 17 กันยายน 2562

ลำเซบาย
ระบบอุทกวิทยา
แอ่งสมุทรมหาสมุทรแปซิฟิก
ระบบแม่น้ำระบบแม่น้ำโขง
ลุ่มน้ำประธานลุ่มน้ำมูล
ชื่อแหล่งน้ำลำเซบาย
ข้อมูลทั่วไป
ความยาว233 กม.
ต้นน้ำที่ราบสูง
ที่ตั้งของต้นน้ำตำบลกุดเชียงหมี อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
ท้ายน้ำแม่น้ำมูล
ที่ตั้งของท้ายน้ำตำบลแจระแม อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

ลำเซบาย เป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำมูลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ความยาว 233 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้ำประมาณ 3,132 ตร.กม. หรือคิดเป็น 1,957,731 ไร่ โดยคำว่า เซบาย มากจากภาษาลาวอีสาน อันมี 2 คำรวมกันคือ "เซ" แปลว่า แม่น้ำ ลำน้ำ ส่วน "บาย" สันนิษฐานมาจากคำว่า การจับ , แตะต้อง (รอการอ้างอิงที่ชัดเจน) ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดยโสธร จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี บางส่วนของจังหวัดมุกดาหาร และบางส่วนของจังหวัดร้อยเอ็ด

เส้นทางแม่น้ำ

ลำเซบายมีต้นกำเนิดจากสันปันน้ำของลุ่มน้ำเซบายและลุ่มน้ำห้วยบังอี่บริเวณพื้นที่ตำบลกุดเชียงหมี อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ไหลผ่านอำเภอไทยเจริญ อำเภอป่าติ้ว อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร อำเภอเสนางคนิคม อำเภอหัวตะพาน อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ อำเภอเขื่องใน อำเภอม่วงสามสิบ และไหลไปรวมกับแม่น้ำมูลที่บ้านทุ่งขุนน้อย ตำบลแจระแม อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี มีความยาวประมาณ 233 กิโลเมตร ซึ่งใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ มีปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติประมาณปีละ 1,666 ล้าน ลบ.ม. หรือประมาณร้อยละ 8.54 ของปริมาณน้ำท่าตามธรรมชาติทั้งหมดของลุ่มน้ำมูล

ฝายสำคัญที่ในลุ่มน้ำ

กรมชลประทานได้พิจารณาก่อสร้างฝายเพื่อปิดกั้นลำเซบายอยู่ 2 แห่ง คือ

  • ฝายลำเซบาย บริเวณบ้านสร้างถ่อน้อย ตำบลสร้างถ่อน้อย อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ
  • ฝายลำเซบาย บริเวณบ้านวังถ้ำ ตำบลหัวดอน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

แหล่งกักเก็บน้ำที่สำคัญในลุ่มน้ำ

ลำน้ำสาขา

ฤดูน้ำหลากปริมาณน้ำจากลำเซบายเอ่อท่วมพื้นที่เกษตรกรรม
  • ลำน้ำโพง
  • ห้วยลิงโจน
  • ห้วยบง
  • ห้วยหมุนวัง
  • ห้วยบก
  • ห้วยส้มผ่อ
  • ห้วยกะเดา
  • ห้วยกอย
  • ห้วยกุดคอก่าน
  • ห้วยผักง่าม
  • ห้วยสะแบก
  • ห้วยละโอง
  • ห้วยโพธิ์
  • ห้วยปลาแดก
  • ห้วยทรพีเหนือ
  • ห้วยทรพี
  • ห้วยวังกะระ
  • ลำเซน้อย
  • ห้วยสามขา
  • ห้วยน้ำเขียว
  • ห้วยเขมร
  • ห้วยบ่อแก
  • ห้วยหนองแวง
  • ห้วยน้ำตอน
  • ห้วยยาง
  • ห้วยเสียว

อ้างอิง

[1] [2]

แหล่งข้อมูลอื่น

15°19′14″N 105°30′29″E / 15.320556°N 105.508056°E / 15.320556; 105.508056

  1. http://guideubon.com/news/view.php?t=3&s_id=4&d_id=5
  2. http://mekhala.dwr.go.th/knowledge-basin-mun.php