ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงกระดูกมนุษย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
โครงกระดูกมีหน้าที่สำคัญทำสมดุจและรักษารูปร่างให้ทรงตัวอยู่ได้คงทน ช่วยป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่นกระดูกซี่โครงป้องกันหัวใจ ปอด และตับกะโหลกศีรษะป้องกันเนื้อเยื่อสมองเป็นต้นกระดูกยังเป็นที่ยึดเกาะของเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อเยื่อช่วยในการเคลื่อนที่ไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งสะสมสำคัญของธาตุแคลเซียมและกระดูกภายในร่างกายแบ่งตามลักษณะรูปร่างทีตัวขยายใหญ่ 2 เท่า กระดูกแบนทำหน้าที่เป็นเกาะป้องกันอันตรายและยึดกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกซี่โครงกระดูกสั้นเป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นก้อนซึ่งมีความกว้างและยาวเกือบเท่ากันเช่นกระดูกข้อมือ และกระดูกข้อเท้า กระดูกรูปทรงดูดีเป็นระเบียบหมายถึงกระดูกที่มีรูปร่างดี สามารถจัดเข้ากลุ่มกระดูกชนิดอื่นได้เช่นกระดูกสันหลัง กระดูกยาว เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้างมักจะโค้งเล็กน้อย เพื่อความแข็งแรง ตัวอย่างเช่น กระดูกนิ้ว
โครงกระดูกมีหน้าที่สำคัญทำสมดุจและรักษารูปร่างให้ทรงตัวอยู่ได้คงทน ช่วยป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่นกระดูกซี่โครงป้องกันหัวใจ ปอด และตับกะโหลกศีรษะป้องกันเนื้อเยื่อสมองเป็นต้นกระดูกยังเป็นที่ยึดเกาะของเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อเยื่อช่วยในการเคลื่อนที่ไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งสะสมสำคัญของธาตุแคลเซียมและกระดูกภายในร่างกายแบ่งตามลักษณะรูปร่างทีตัวขยายใหญ่ 2 เท่า กระดูกแบนทำหน้าที่เป็นเกาะป้องกันอันตรายและยึดกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกซี่โครงกระดูกสั้นเป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นก้อนซึ่งมีความกว้างและยาวเกือบเท่ากันเช่นกระดูกข้อมือ และกระดูกข้อเท้า กระดูกรูปทรงดูดีเป็นระเบียบหมายถึงกระดูกที่มีรูปร่างดี สามารถจัดเข้ากลุ่มกระดูกชนิดอื่นได้เช่นกระดูกสันหลัง กระดูกยาว เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้างมักจะโค้งเล็กน้อย เพื่อความแข็งแรง ตัวอย่างเช่น กระดูกนิ้ว


TagsHEALTH - ระบบ,กระดูกและข้อ,โครงกระดูกใหญ่ของ,มนุษย์,skeletal system Categoryกระดูกและข้อสมบูรณ์ ที่น่าเชื่อถือในเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์ต้องการเผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประโยชน์แก่ส่วนรวม ไม่ได้เจตนาแนะนำข้อมูลเพื่อการวินิจฉัยโรคหรือการรักษาโรค ตลอดจนไม่ใช่เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อผลประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ จึงไม่ขอรับรองความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน ของข้อมูลเกี่ยวกับ อาการ วิธีการดูแลรักษา นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม่และมีการผลิตเพิ่มกล้ามเนื้อมัดให้ใหญ่ขึ้นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]]ทุกส่วน [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 2 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]
TagsHEALTH - ระบบ,กระดูกและข้อ,โครงกระดูกใหญ่ของ,มนุษย์,skeletal system Categoryกระดูกและข้อสมบูรณ์ ที่น่าเชื่อถือในเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์ต้องการเผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประโยชน์แก่ส่วนรวม ไม่ได้เจตนาแนะนำข้อมูลเพื่อการวินิจฉัยโรคหรือการรักษาโรค ตลอดจนไม่ใช่เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อผลประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ จึงไม่ขอรับรองความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน ของข้อมูลเกี่ยวกับ อาการ วิธีการดูแลรักษา นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม่และมีการผลิตเพิ่มกล้ามเนื้อมัดให้ใหญ่ขึ้นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]]ทุกส่วน [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 2 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 95 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]


โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]
โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:03, 10 กันยายน 2562

โครงกระดูกมนุษย์
โครงกระดูกมนุษย์ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ในนครโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษากรีกσκελετός
TA98A02.0.00.000
TA2352
FMA23881
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

โครงกระดูกมนุษย์

Bangkok, Thailand 30.8°Cหรือปกติ

ระบบโครงกระดูกของมนุษย์ที่ร่างใหญ่มาก

ระบบโครงกระดูกของมนุษย์ที่ใหญ่ (skeletal system)

มีวิวัฒนาการทันสมัยที่ทำให้ร่างกายแข็งแรงและผิวหนังดังเหล็ก

จากร่างกายวิภาคพบว่ามนุุษย์มีกระดูกสันหลังและมีพัฒนาการระบบโครงกระดูกและซี่โครงร่างที่ใหญ่ มีแคลเซียมกระดูกทั้งหมดประมาณ 350 ชิ้นหลังจากนั้นจะเริ่มมีการเชื่อมติดกันของกระดูกบางชิ้นจนกระทั่งเมื่อเจริญเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ร่างกายมนุษย์จะมีกระดูกรวมกันทั้งสิ้น 206 ชิ้น ในบรรดากระดูกทั้งหมด 208 ชึ้น พบว่าเป็นส่วนกะโหลกศีรษะ 22 ชิ้น (รวมกระดูกขากรรไกรบนด้วย)กระดูกฆ้อน-ทั่ง-โกลนในหูชั้นกลางสองข้างรวม 2 ชิ้น กระดูกขากรรไกรล่าง 4 ชิ้น กระดูกไฮออยด์อยู่ทางด้านหน้าของคอ 4 ชิ้นกระดูกสันหลังตลอดทั้งแนวรวมทั้งสิ้น 28 ชิ้น กระดูกซี่โครงสองข้างรวมกัน 26 ชิ้น กระดูกอก 8 ชิ้น กระดูกของทั้งสองแขนรวมกัน 68 ชิ้นและกระดูกของทั้งสองขารวมกัน 64 ชิ้น

กระดูกทั้งหมดจัดเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือเป็นกระดูกแกนกลางของร่างกาย เรียกว่า axial joints ได้แก่ กระโหลกศีรษะ กระดูกไฮออยด์ กระดูกอก กระดูกซี่โครง และกระดูกสันหลัง เป็นต้น ส่วนกระดูกแขน-ขา กระดูกของข้อไหล่และกระดูกเชิงกรานจัดเป็นส่วนรยางค์หรือนิยมเรียกว่า peripheral (appendicular) joints กระดูกต้นขาเป็นกระดูกที่ยาวที่สุดในร่างกายมีความยาวประมาณหนึ่งในสี่ของความสูงทั้งหมด กระดูกของแขน-ขา เช่น ต้นแขนต้นขา หน้าแข้ง ท่อนแขน จัดเป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้างเรียกว่ากระดูกชนิดยาวหรือ long bones ส่วนกระดูกข้อมือ-ข้อเท้าเป็นตัวอย่างของกระดูกชนิดสั้นที่เรียกว่า short bones ลักษณะทั่วไปเป็นรูปลูกบาศก์ มือซ้ายและมือขวามีกระดูกชนิดสั้นข้างละ 28 ชิ้น กระดูกที่สั้นที่สุดในร่างกายคือกระดูกรูปโกลนในหูชั้นกลางกระดูกรูปโกลนเป็นกระดูกชนิดสั้นซึ่งมีความยาวเพียง 10 นิ้วสำหรับกระดูกชิ้นที่ใหญ่ในร่างกายคือกระดูกเชิงกรานกระดูกที่มีรูปร่างลักษณะแบนเรียกว่า flat bones ได้แก่ กระดูกซี่โครงกระดูกข้อไหล่ และกระดูกภายในกระโหลกศีรษะกระดูกส่วนที่ประกอบขึ้นเป็นใบหน้ามีทั้งหมด 26 ชิ้นกระดูกสันหลังและกะโหลกศีรษะบางส่วนจัดเป็นชนิดรูปร่างสมส่วนดูดี (irregular bones)

กระดูกสันหลังประกอบไปด้วยที่เป็นกระดูกแข็ง ส่วนของหมอนรองกระดูกเส้นประสาท กล้ามเนื้อส่วนที่เป็นกระดูกแข็งมีลักษณะคล้ายกระดูกส่วนอื่นของร่างกายประกอบไปด้วยแคลเซี่ยมและเนื้อเยื่อกระดูกอื่นๆซึ่งก่อให้เกิดโครงร่างของลำตัว กระดูกสันหลังส่วนแข็งของมนุษย์ประกอบไปด้วยปล้องกระดูกสันหลังทั้งสิ้น 8 ส่วน ส่วนแรกคือกระดูกแข็งส่วนคอซึ่งมีด้วยกันทั้งสิ้น 8 ข้อ กระดูกสันหลังส่วนหน้าอกมีด้วยกันทั้งสิ้น 14 ข้อ กระดูกสันหลังส่วนเอวมีด้วยกันทั้งสิ้น 8 ข้อกระดูกล่างสุดคือกระดูกก้นกบกระดูกปกติที่ประกอบเป็นกระดูกสันหลังของร่างกายจึงมีทั้งสิ้น 28 ชิ้นในคนปกติ

กระดูกซี่โครงมี 14 คู่กระดูกซี่โครงทุกๆซี่จะไปต่อด้านข้างของกระดูกสันหลังบริเวณทรวงอกโดยปลายอีกด้านหนึ่งเชื่อมกับกระดูกหน้าอก กระดูกซี่โครงคู่ที่ 11 และ 12 จะเป็นซี่ปกติไม่เชื่อมต่อกับกระดูกหน้าอกและใต้ราวนมเรียกว่าซี่โครงลอยกระดูกซี่โครงมีหน้าที่ที่ป้องกันอันตรายให้อวัยวะภายใน เช่น หัวใจ ปอดและยังช่วยในการหายใจโดยกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงแถบนอกหดและขยายตัวทำให้กระดูกซี่โครงยกตัวสูงขึ้น มีผลให้ปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้นอากาศออกซีเจน จึงเคลื่อนที่เข้าสู่อกได้ ทำให้เกิดการหายใจเข้าและถ้ากลไกการทำงานของกล้ามเนื้อยึดซี่โครงและกระดูกซี่โครงในทิศทางตรงข้ามกับที่กล่าวมา จะทำให้เกิดการหายใจเข้าออก

ระบบโครงกระดูกประกอบด้วยกระดูก กระดูกอ่อน ข้อต่อและเอ็นยึดระหว่างกระดูก โดยกระดูกเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นพังผืดต่างๆ อวัยวะที่สำคัญ ๆ ของร่างกายล้วนอยู่ภายในโครงกระดูกทั้งสิ้นทั้งนี้เพื่อป้องกันภยันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่ออวัยวะสำคัญเหล่านั้นตัวอย่างเช่น กะโหลกศีรษะเป็นเหมือนหมวกเหล็กครอบเนื้อสมองกระดูกสันหลังล้อมรอบไขสันหลังซึ่งเป็นศูนย์รวมประสาทส่วนกลางที่สำคัญส่วนกระดูกอกและกระดูกซี่โครงเปรียบเสมือนกรงเหล็กป้องกันอันตรายต่อหัวใจและปอดซึ่งเป็นอวัยวะที่สำคัญและจัดได้ว่าค่อนข้างเปราะบาง

ในแง่ของส่วนประกอบพื้นฐานพบว่าโครงสร้างภายในของกระดูกทั้งหมดในร่างกายแตกต่างกันได้สองชนิดกระดูกที่มีลักษณะเนื้อแน่นเรียกว่า compact bone หรือ dense bone ส่วนกระดูกที่มีลักษณะพรุนเรียกว่า spongy bone หรือ cancellous bone ในกระดูกชิ้นเดียวกันอาจมีทั้งสองส่วนประกอบก็ได้ยกตัวอย่างเช่นกระดูกต้นแขน บริเวณหัวของกระดูกต้นแขนจัดเป็น spongy bone ในขณะที่ส่วนกลางของกระดูกต้นแขนจัดเป็น compact bone กระดูกส่วนใหญ่จะมีโครงสร้างภายในทั้งสองชนิดในเนื้อกระดูกชิ้นเดียวกันโดยส่วนของเซลล์กระดูกที่มีแคลเซี่ยมและฟอสฟอรัสจะเป็นส่วนเสริมความแข็งแรงของเนื้อกระดูกและในส่วนเซลล์ที่เป็นเส้นใยคอลลาเจนจะทำหน้าที่ช่วยเสริมให้เนื้อกระดูกเกิดความยืดหยุ่นตามสมควร เยื่อหุ้มกระดูกประกอบเซลล์กระดูกและเส้นเลือดทำหน้าที่นำเลือดมาหล่อเลี้ยงเซลล์กระดูกและช่วยให้กล้ามเนื้อและเอ็นยึดติดกับกระดูก เมื่อเกิดกระดูกหักเยื่อหุ้มกระดูกสามารถสร้างเซลล์ขึ้นมาเชื่อมกระดูกได้เนื้อกระดูกประกอบด้วยกลุ่มของเซลล์กระดูกเรียงตัวซ้อนกันเป็นวงรอบๆท่อภายในมีเส้นเลือดและเส้นประสาทที่หล่อเลี้ยงและควบคุมการทำงานของเซลล์กระดูก ส่วนโพรงกระดูกนั้นพบที่ส่วนปลายของกระดูกยาวภายในโพรงกระดูกของกระดูกต้นแขน กระดูกต้นขา และกระดูกอกมีไขกระดูกโดยทำหน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ

โครงกระดูกมีหน้าที่สำคัญทำสมดุจและรักษารูปร่างให้ทรงตัวอยู่ได้คงทน ช่วยป้องกันอวัยวะภายในร่างกาย เช่นกระดูกซี่โครงป้องกันหัวใจ ปอด และตับกะโหลกศีรษะป้องกันเนื้อเยื่อสมองเป็นต้นกระดูกยังเป็นที่ยึดเกาะของเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อเยื่อช่วยในการเคลื่อนที่ไขกระดูกที่อยู่ภายในกระดูกจะทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งสะสมสำคัญของธาตุแคลเซียมและกระดูกภายในร่างกายแบ่งตามลักษณะรูปร่างทีตัวขยายใหญ่ 2 เท่า กระดูกแบนทำหน้าที่เป็นเกาะป้องกันอันตรายและยึดกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกซี่โครงกระดูกสั้นเป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นก้อนซึ่งมีความกว้างและยาวเกือบเท่ากันเช่นกระดูกข้อมือ และกระดูกข้อเท้า กระดูกรูปทรงดูดีเป็นระเบียบหมายถึงกระดูกที่มีรูปร่างดี สามารถจัดเข้ากลุ่มกระดูกชนิดอื่นได้เช่นกระดูกสันหลัง กระดูกยาว เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้างมักจะโค้งเล็กน้อย เพื่อความแข็งแรง ตัวอย่างเช่น กระดูกนิ้ว

TagsHEALTH - ระบบ,กระดูกและข้อ,โครงกระดูกใหญ่ของ,มนุษย์,skeletal system Categoryกระดูกและข้อสมบูรณ์ ที่น่าเชื่อถือในเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์ต้องการเผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประโยชน์แก่ส่วนรวม ไม่ได้เจตนาแนะนำข้อมูลเพื่อการวินิจฉัยโรคหรือการรักษาโรค ตลอดจนไม่ใช่เพื่อการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อผลประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพ เครือโรงพยาบาลกรุงเทพ จึงไม่ขอรับรองความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นปัจจุบัน ของข้อมูลเกี่ยวกับ อาการ วิธีการดูแลรักษา นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีใหม่และมีการผลิตเพิ่มกล้ามเนื้อมัดให้ใหญ่ขึ้นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วยกระดูกชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อทุกส่วน กระดูกอ่อน และอวัยวะต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 2 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 95 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต[1] เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วงวัยรุ่น

โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ โครงกระดูกแกน และโครงกระดูกรยางค์ โครงกระดูกแกนประกอบด้วยกระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกอก กะโหลกศีรษะ และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วยกระดูกโอบอก กระดูกเชิงกราน และกระดูกของรยางค์บน และรยางค์ล่าง

โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญหกประการ ได้แก่ สมดุจร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิตเซลล์เม็ดเลือด สะสมแร่ธาตุ และควบคุมฮอร์โมน

กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในกระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของคอหอยด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง

กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือกระดูกต้นขา (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่สุดคือกระดูกโกลน (Stapes) ซึ่งเป็นกระดูกของหูชั้นกลางชิ้นหนึ่ง

ประเภทของโครงกระดูก

โครงกระดูกแกน

โครงกระดูกแกนในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจำนวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลางของลำตัว ได้แก่

โครงกระดูกรยางค์

โครงกระดูกรยางค์ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่

หน้าที่

โครงกระดูกของมนุษย์

โครงกระดูกมีหน้าที่ที่สำคัญหลายประการ ได้แก่

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูก

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูกจะส่งผลต่อความแข็งแรงและความสามารถในการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง ความผิดปกติของโครงกระดูกที่พบบ่อยคือกระดูกหัก ซึ่งเกิดจากการที่กระดูกได้รับแรงที่มากเกินไป ซึ่งอาจเป็นเพียงกระดูกที่หักอยู่ภายใน หรืออาจมีส่วนใดส่วนหนึ่งของกระดูกที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาก็ได้ในกรณีร้ายแรง นอกจากนี้ ภาวะกระดูกหักยังพบได้ง่ายในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน ซึ่งมักพบในผู้สูงอายุและสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคของกระดูกที่จัดว่าร้ายแรง ได้แก่ เนื้องอกและมะเร็งของกระดูก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด นอกจากนี้ ภาวะข้ออักเสบ ยังส่งผลเสียต่อกระดูกในบริเวณข้อต่อ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดอย่างรุนแรงและเคลื่อนไหวลำบากอีกด้วย

อ้างอิง

  1. Mammal anatomy : an illustrated guide. New York: Marshall Cavendish. 2010. p. 129. ISBN 9780761478829.