ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| height =
| height =
| term =
| term =
| parents = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์]] <br> [[หม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา ]]
| parents = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์]] <br> [[หม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา ]]
| spouse = หม่อมเจ้ารัสสาทิส กฤดากร
| spouse = หม่อมเจ้ารัสสาทิส กฤดากร
| children = หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร
| children = หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร''' ([[20 กันยายน ]] [[พ.ศ. 2438]] - [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510]]) เป็นสถาปนิกในแผนกศิลปากรสถาน หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2438 ณ วังพระอาทิตย์ บางลำพู จังหวัดพระนคร ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนพรรษาของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ฉะนั้น [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] จึงทรงพระราชทานนามให้ว่า”สมัยเฉลิม” หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 9 ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์]] และหม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา ทรงมีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระบิดาหลายพระองค์เช่น
'''หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร''' ([[20 กันยายน ]] [[พ.ศ. 2438]] - [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510]]) เป็นสถาปนิกในแผนกศิลปากรสถาน หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2438 ณ วังพระอาทิตย์ บางลำพู จังหวัดพระนคร ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนพรรษาของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ฉะนั้น [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] จึงทรงพระราชทานนามให้ว่า”สมัยเฉลิม” หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 9 ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์]] และหม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา ทรงมีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระบิดาหลายพระองค์เช่น
# พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
# พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
# [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
# [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช]]
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
#หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร
#หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร


หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2510 เวลา 00.15 น. รวมพระชนมายุได้ 71 ปี เนื่องจากทรงเป็นพระโรคประสาทร้ายแรงและมีโรคแทรกซ้อนเนื่องจากเหตุการณ์ที่หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร พระโอรสได้ถึงแก่กรรมเมื่ออายุเพียง 23 ปี โดยอุบัติเหตุ ทำให้หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมเศร้าโศกเสียใจมาก
หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2510 เวลา 00.15 น. รวมพระชนมายุได้ 71 ปี เนื่องจากทรงเป็นพระโรคประสาทร้ายแรงและมีโรคแทรกซ้อนเนื่องจากเหตุการณ์ที่หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร พระโอรสได้ถึงแก่กรรมเมื่ออายุเพียง 23 ปี โดยอุบัติเหตุ ทำให้หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมเศร้าโศกเสียใจมาก
===ประวัติการศึกษา===
===ประวัติการศึกษา===
*พ.ศ. 2448 โรงเรียนราชวิทยาลัย 3 ปี
*พ.ศ. 2448 โรงเรียนราชวิทยาลัย 3 ปี
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
*พ.ศ. 2456 Collège Scientifique, Lausanne, Suisse 5 ปี
*พ.ศ. 2456 Collège Scientifique, Lausanne, Suisse 5 ปี
*พ.ศ. 2456 École Nationale Supérieure des Beaux-Arts, Paris 9 ปี
*พ.ศ. 2456 École Nationale Supérieure des Beaux-Arts, Paris 9 ปี

โดยเป็นนักเรียนทุนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากสำเร็จวิชาสถาปัตยกรรมจาก สถาบัน École Nationale Supérieure des Beaux-Arts กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ก็ทรงกลับมารับราชการเมื่อปี พ.ศ. 2471 ในแผนกศิลปากรสถาน
โดยเป็นนักเรียนทุนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากสำเร็จวิชาสถาปัตยกรรมจาก สถาบัน École Nationale Supérieure des Beaux-Arts กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ก็ทรงกลับมารับราชการเมื่อปี พ.ศ. 2471 ในแผนกศิลปากรสถาน


===ประวัติการทำงาน===
===ประวัติการทำงาน===
*พ.ศ. 2471 เข้ารับราชการในแผนกศิลปากรสถาน ตำแหน่งนายช่าง
*พ.ศ. 2471 เข้ารับราชการในแผนกศิลปากรสถาน ตำแหน่งนายช่าง
*พ.ศ. 2472 ย้ายมารับราชการกรมวังนอก กระทรวงวัง ตำแหน่งนายช่างใหญ่
*พ.ศ. 2472 ย้ายมารับราชการกรมวังนอก กระทรวงวัง ตำแหน่งนายช่างใหญ่
* พ.ศ. 2478 กองสถาปัตยกรรม กระทรวงธรรมการ ตำแหน่งสถาปนิก
* พ.ศ. 2478 กองสถาปัตยกรรม กระทรวงธรรมการ ตำแหน่งสถาปนิก
* พ.ศ. 2483 กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ตำแหน่งหัวหน้าแผนกออกแบบ
* พ.ศ. 2483 กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ตำแหน่งหัวหน้าแผนกออกแบบ
*พ.ศ. 2493 ตำแหน่งสถาปนิกชั้นพิเศษ กรมศิลปากร
*พ.ศ. 2493 ตำแหน่งสถาปนิกชั้นพิเศษ กรมศิลปากร

และท่านได้ออกจากราชการเมื่อปี2501
และท่านได้ออกจากราชการเมื่อปี 2501
นอกจากการรับราชการตำแหน่งสถาปนิกดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ท่านยังได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดี คณะประติมากรรม มหาวิทยาศิลปากร ระหว่างปี พ.ศ. 2487 - 2493 และได้ไปสอนวิชาสถาปัตยกรรมที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในตำแหน่งอาจารย์พิเศษ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยาม ในปี พ.ศ. 2476 โดยดำรงตำแหน่งกรรมการสมาคมฯ ร่วมกับผู้ริเริ่มอีก 6 ท่าน ใน พ.ศ. 2477 ได้แก่พระสาโรชรัตนนิมมานก์ นายกสมาคม หลวงบุรกรรมโกวิท เลขาธิการ นายนารถ โพธิสาท เหรัญญิก หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร กรรมการ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ กรรมการ และนายศิววงษ์ กุญชร ณ อยุธยา
นอกจากการรับราชการตำแหน่งสถาปนิกดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ท่านยังได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดี คณะประติมากรรม มหาวิทยาศิลปากร ระหว่างปี พ.ศ. 2487 - 2493 และได้ไปสอนวิชาสถาปัตยกรรมที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในตำแหน่งอาจารย์พิเศษ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยาม ในปี พ.ศ. 2476 โดยดำรงตำแหน่งกรรมการสมาคมฯ ร่วมกับผู้ริเริ่มอีก 6 ท่าน ใน พ.ศ. 2477 ได้แก่พระสาโรชรัตนนิมมานก์ นายกสมาคม หลวงบุรกรรมโกวิท เลขาธิการ นายนารถ โพธิสาท เหรัญญิก หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร กรรมการ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ กรรมการ และนายศิววงษ์ กุญชร ณ อยุธยา
เมื่อออกจากราชการแล้วได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2501-31 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ต่อจากนั้นได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาประจำสำนักพระราชวังมาตลอดพระชนม์ชีพ
เมื่อออกจากราชการแล้วได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2501 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ต่อจากนั้นได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาประจำสำนักพระราชวังมาตลอดพระชนม์ชีพ


===ผลงานการออกแบบ===
===ผลงานการออกแบบ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:05, 3 กันยายน 2562

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร
ไฟล์:หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม.JPG
เกิด20 กันยายน พ.ศ. 2438
เสียชีวิต20 มิถุนายน พ.ศ. 2510
สัญชาติไทย
มีชื่อเสียงจากสถาปนิก
คู่สมรสหม่อมเจ้ารัสสาทิส กฤดากร
บุตรหม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร
บุพการีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์
หม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร (20 กันยายน พ.ศ. 2438 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2510) เป็นสถาปนิกในแผนกศิลปากรสถาน หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2438 ณ วังพระอาทิตย์ บางลำพู จังหวัดพระนคร ซึ่งตรงกับวันเฉลิมพระชนพรรษาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉะนั้น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จึงทรงพระราชทานนามให้ว่า”สมัยเฉลิม” หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมทรงเป็นพระโอรสองค์ที่ 9 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ และหม่อมแช่ม กฤดากร ณ อยุธยา ทรงมีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมพระบิดาหลายพระองค์เช่น

  1. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
  2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
  3. หม่อมเจ้าเสรษฐศิริ กฤดากร
  4. หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
  5. หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
  6. หม่อมเจ้าขจรจรัสฤทธิ์ กฤดากร
  7. หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร
  8. หม่อมเจ้าหญิงวรรณวิลัย กฤดากร
  9. หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร (พระองค์เอง)
  10. หม่อมเจ้าเสริมสวาสดิ์ กฤดากร
  11. หม่อมเจ้าหญิงลีลาศหงษ์ กฤดากร
  12. หม่อมเจ้าหญิงผจงรจิตร์ กฤดากร
  13. หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร
  14. หม่อมเจ้าดิลกฤทธิ์ กฤดากร

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม ได้เสกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรัสสาทิส กฤดากร (ราชสกุลเดิม : สวัสดิวัตน์) พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2478 มีบุตร1คน คือ

  1. หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันอังคารที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2510 เวลา 00.15 น. รวมพระชนมายุได้ 71 ปี เนื่องจากทรงเป็นพระโรคประสาทร้ายแรงและมีโรคแทรกซ้อนเนื่องจากเหตุการณ์ที่หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร พระโอรสได้ถึงแก่กรรมเมื่ออายุเพียง 23 ปี โดยอุบัติเหตุ ทำให้หม่อมเจ้าสมัยเฉลิมเศร้าโศกเสียใจมาก

ประวัติการศึกษา

  • พ.ศ. 2448 โรงเรียนราชวิทยาลัย 3 ปี
  • พ.ศ. 2451 โรงเรียนในประเทศฝรั่งเศส 2 ปี
  • พ.ศ. 2453 Institution Brunel Haccius, Genève 3 ปี
  • พ.ศ. 2456 Collège Scientifique, Lausanne, Suisse 5 ปี
  • พ.ศ. 2456 École Nationale Supérieure des Beaux-Arts, Paris 9 ปี

โดยเป็นนักเรียนทุนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากสำเร็จวิชาสถาปัตยกรรมจาก สถาบัน École Nationale Supérieure des Beaux-Arts กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ก็ทรงกลับมารับราชการเมื่อปี พ.ศ. 2471 ในแผนกศิลปากรสถาน

ประวัติการทำงาน

  • พ.ศ. 2471 เข้ารับราชการในแผนกศิลปากรสถาน ตำแหน่งนายช่าง
  • พ.ศ. 2472 ย้ายมารับราชการกรมวังนอก กระทรวงวัง ตำแหน่งนายช่างใหญ่
  • พ.ศ. 2478 กองสถาปัตยกรรม กระทรวงธรรมการ ตำแหน่งสถาปนิก
  • พ.ศ. 2483 กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ตำแหน่งหัวหน้าแผนกออกแบบ
  • พ.ศ. 2493 ตำแหน่งสถาปนิกชั้นพิเศษ กรมศิลปากร

และท่านได้ออกจากราชการเมื่อปี 2501 นอกจากการรับราชการตำแหน่งสถาปนิกดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ท่านยังได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดี คณะประติมากรรม มหาวิทยาศิลปากร ระหว่างปี พ.ศ. 2487 - 2493 และได้ไปสอนวิชาสถาปัตยกรรมที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในตำแหน่งอาจารย์พิเศษ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยาม ในปี พ.ศ. 2476 โดยดำรงตำแหน่งกรรมการสมาคมฯ ร่วมกับผู้ริเริ่มอีก 6 ท่าน ใน พ.ศ. 2477 ได้แก่พระสาโรชรัตนนิมมานก์ นายกสมาคม หลวงบุรกรรมโกวิท เลขาธิการ นายนารถ โพธิสาท เหรัญญิก หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร กรรมการ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ กรรมการ และนายศิววงษ์ กุญชร ณ อยุธยา เมื่อออกจากราชการแล้วได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2501 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2505 ต่อจากนั้นได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาประจำสำนักพระราชวังมาตลอดพระชนม์ชีพ

ผลงานการออกแบบ

  • โรงละครเฉลิมกรุง
  • พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์
  • ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

  • สิทธิธรรม โรหิตะสุข. “สถาปนิกเลือดน้ำเงินกับศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย: แนวคิดและบทบาทของสถาปนิกชั้นหม่อมเจ้าในช่วง พ.ศ. 2475-2505.” ใน ถนอม ชาภักดี และคนอื่นๆ (บก.), เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11 เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์. น. 22-37. กรุงเทพฯ: มีดี กราฟฟิค, 2560.

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม 79, ตอน 46, 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2505, หน้า 1249