ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)"

พิกัด: 13°46′52″N 100°25′30″E / 13.781178°N 100.425112°E / 13.781178; 100.425112
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chiangmai2499 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:SouthernBusTerminal (Thanon Borommaratchachonnani).jpg|thumb|สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)]]
[[ไฟล์:SouthernBusTerminal (Thanon Borommaratchachonnani).jpg|thumb|สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)]]


'''สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)''' หรือ '''สายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน)''' เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก [[บริษัท ขนส่ง จำกัด]] [[กระทรวงคมนาคม]] เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อยและเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปเปิดเดินรถในวันที่ [[1 พฤศจิกายน]] 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] 2550 ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้
'''สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)''' หรือที่เรียกกันติดปากว่า '''สายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน)''' เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกเป็นบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก [[บริษัท ขนส่ง จำกัด]] [[กระทรวงคมนาคม]] เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อย และเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่[[จังหวัดชุมพร]]ลงไปเปิดเดินรถในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ 15 พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้


{{PAGENAME}} ตั้งอยู่ที่หัวมุม[[ถนนบรมราชชนนี]] ตัดกับ [[ถนนพุทธมณฑลสาย 1]] แขวงฉิมพลี [[เขตตลิ่งชัน]] ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร
{{PAGENAME}} ตั้งอยู่ที่หัวมุม[[ถนนบรมราชชนนี]] ตัดกับ [[ถนนพุทธมณฑลสาย 1]] แขวงฉิมพลี [[เขตตลิ่งชัน]] ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
==ส่วนประกอบ==
==ส่วนประกอบ==


{{PAGENAME}} มีอาคารหลักสองส่วน คืออาคารผู้โดยสาร และอาคารชานชาลา โดยมีทางเชื่อม (flyover) เชื่อมต่อกัน โดยอาคารผู้โดยสารแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ G M 1 และ 2 โดยพื้นที่ส่วนในของชั้น G และ M เป็นลานจอดรถในอาคาร ส่วนพื้นที่ส่วนหน้าเป็นส่วนของเอสซีพลาซ่า ส่วนชั้นที่ 1 เป็นช่องจำหน่ายตั๋วตรงกลาง ล้อมรอบด้วยโซนพลาซ่า และชั้นที่ 2 เป็นโซนพลาซ่าและศูนย์อาหารทั้งชั้น
{{PAGENAME}} มีอาคารหลักสองส่วน คือ อาคารผู้โดยสาร และอาคารชานชาลา โดยมีทางเชื่อม (flyover) เชื่อมต่อกัน โดยอาคารผู้โดยสารแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ G, M, 1 และ 2 โดยพื้นที่ส่วนในของชั้น G และ M เป็นลานจอดรถในอาคาร ส่วนพื้นที่ส่วนหน้าเป็นส่วนของเอสซีพลาซ่า ส่วนชั้นที่ 1 เป็นช่องจำหน่ายตั๋วตรงกลาง ล้อมรอบด้วยโซนพลาซ่า และชั้นที่ 2 เป็นโซนพลาซ่า และศูนย์อาหารทั้งชั้น


สำหรับฝั่งอาคารชานชาลา ชั้นบนเป็นที่ทำการส่วนบริการต่างๆ ของฝ่ายเดินรถ และห้องละหมาด ส่วนชั้นล่างเป็นชานชาลาผู้โดยสารขาออก
สำหรับฝั่งอาคารชานชาลา ชั้นบนเป็นที่ทำการส่วนบริการต่างๆ ของฝ่ายเดินรถ และห้องละหมาด ส่วนชั้นล่างเป็นชานชาลาผู้โดยสารขาออก
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
==เอสซีพลาซ่า==
==เอสซีพลาซ่า==
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal Platform.jpg|thumb|200px|บริเวณชานชาลา]]
[[ไฟล์:Place NewBKKSouthernBusTerminal Platform.jpg|thumb|200px|บริเวณชานชาลา]]
เอสซีพลาซ่า เป็นศูนย์การค้าขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่โซนพลาซ่าทั้ง 4 ชั้นของ{{PAGENAME}} ประกอบด้วยศูนย์อาหาร ร้านค้าย่อย ธนาคาร ร้านสะดวกซื้อ บริการไปรษณีย์ โดยให้เป็นที่เดินจับจ่ายใช้สอยขณะรอเวลารถโดยสารเทียบท่า นอกจากนี้บริเวณศูนย์อาหาร และที่พักผู้โดยสารในชั้นจำหน่ายตั๋ว มีการติดตั้งโทรทัศน์แขวนเพดานทั่วบริเวณ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้รอการโดยสาร
เอสซีพลาซ่า เป็นศูนย์การค้าขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่โซนพลาซ่าทั้ง 4 ชั้นของ{{PAGENAME}} ประกอบด้วยศูนย์อาหาร, ร้านค้าย่อย, ธนาคาร, ร้านสะดวกซื้อ, บริการไปรษณีย์ โดยให้เป็นที่เดินจับจ่ายใช้สอยขณะรอเวลารถโดยสารเทียบท่า นอกจากนี้บริเวณศูนย์อาหาร และที่พักผู้โดยสารในชั้นจำหน่ายตั๋ว มีการติดตั้ง[[โทรทัศน์]]แขวนเพดานทั่วบริเวณ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้รอการโดยสาร


==รถประจำทางสายที่ผ่าน==
==รถประจำทางสายที่ผ่าน==


'''ป้ายรถเมล์ หน้าสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาออก)'''<br />
'''ป้ายรถเมล์ หน้าสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาออก)'''<br />
สาย 79 123 124 125 127 146 170 177 183 515 516 539 556
สาย 79, 123, 124, 125, 127, 146, 170, 177, 183, 515, 516, 539 และ 556
<br />
<br />
<br />
<br />


'''ป้ายรถเมล์ ตรงข้ามสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาเข้า)'''<br />
'''ป้ายรถเมล์ ตรงข้ามสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาเข้า)'''<br />
สาย 79 123 124 125 127 146 170 177 183 515 516 539 556
สาย 79, 123, 124, 125, 127, 146, 170, 177, 183, 515, 516, 539 และ 556
<br />
<br />
<br />
<br />


'''ท่ารถเมล์ ภายในสถานีขนส่ง'''<br />
'''ท่ารถเมล์ ภายในสถานีขนส่ง'''<br />
สาย 28 35 66 146 507 511
สาย 28, 35, 66, 146, 507 และ 511


== สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้) ชั่วคราว ==
== สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้) ชั่วคราว ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:41, 29 สิงหาคม 2562

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) หรือที่เรียกกันติดปากว่า สายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) เป็นสถานีขนส่ง สำหรับรถโดยสารทางไกล สายใต้ และสายตะวันตกเป็นบางส่วน เป็นสถานีขนส่งเอกชน สร้างและบริหารโดย บริษัท สิริโปรเจกต์ คอนสทรัคชั่น จำกัด โดยได้รับสัมปทานจาก บริษัท ขนส่ง จำกัด กระทรวงคมนาคม เป็นระยะเวลา 20 ปี ปัจจุบันก่อสร้างเรียบร้อย และเปิดให้บริการเดินรถสายใต้ทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปเปิดเดินรถในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และมีกำหนดเริ่มการเดินรถสายตะวันตกในวันที่ 15 พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน ส่วนพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ จะดำเนินการในภายหลัง เนื่องจากขั้นต้นยังเป็นการเดินรถทดลองระบบ นอกจากนี้สถานีขนส่งแห่งนี้ ยังเป็นสถานีขนส่งที่มีมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสูง มีระบบการจัดการคล้ายท่าอากาศยาน กล่าวคือ ผู้ที่ไม่มีตั๋วโดยสาร จะไม่สามารถเข้าสู่เขตชานชาลาได้

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) ตั้งอยู่ที่หัวมุมถนนบรมราชชนนี ตัดกับ ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน ห่างจากสถานีเดิมไปทางตะวันตก (ออกเมือง) บนฝั่งซ้ายของถนนบรมราชชนนี เช่นเดียวกัน ประมาณ 5 กิโลเมตร

อาคารผู้โดยสาร

ส่วนประกอบ

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) มีอาคารหลักสองส่วน คือ อาคารผู้โดยสาร และอาคารชานชาลา โดยมีทางเชื่อม (flyover) เชื่อมต่อกัน โดยอาคารผู้โดยสารแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ G, M, 1 และ 2 โดยพื้นที่ส่วนในของชั้น G และ M เป็นลานจอดรถในอาคาร ส่วนพื้นที่ส่วนหน้าเป็นส่วนของเอสซีพลาซ่า ส่วนชั้นที่ 1 เป็นช่องจำหน่ายตั๋วตรงกลาง ล้อมรอบด้วยโซนพลาซ่า และชั้นที่ 2 เป็นโซนพลาซ่า และศูนย์อาหารทั้งชั้น

สำหรับฝั่งอาคารชานชาลา ชั้นบนเป็นที่ทำการส่วนบริการต่างๆ ของฝ่ายเดินรถ และห้องละหมาด ส่วนชั้นล่างเป็นชานชาลาผู้โดยสารขาออก

ส่วนอาคารประกอบอื่นๆ ขณะนี้อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

เอสซีพลาซ่า

บริเวณชานชาลา

เอสซีพลาซ่า เป็นศูนย์การค้าขนาดเล็กอยู่ในพื้นที่โซนพลาซ่าทั้ง 4 ชั้นของสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี) ประกอบด้วยศูนย์อาหาร, ร้านค้าย่อย, ธนาคาร, ร้านสะดวกซื้อ, บริการไปรษณีย์ โดยให้เป็นที่เดินจับจ่ายใช้สอยขณะรอเวลารถโดยสารเทียบท่า นอกจากนี้บริเวณศูนย์อาหาร และที่พักผู้โดยสารในชั้นจำหน่ายตั๋ว มีการติดตั้งโทรทัศน์แขวนเพดานทั่วบริเวณ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้รอการโดยสาร

รถประจำทางสายที่ผ่าน

ป้ายรถเมล์ หน้าสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาออก)
สาย 79, 123, 124, 125, 127, 146, 170, 177, 183, 515, 516, 539 และ 556

ป้ายรถเมล์ ตรงข้ามสถานีขนส่ง (ถ.บรมราชชนนี ขาเข้า)
สาย 79, 123, 124, 125, 127, 146, 170, 177, 183, 515, 516, 539 และ 556

ท่ารถเมล์ ภายในสถานีขนส่ง
สาย 28, 35, 66, 146, 507 และ 511

สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้) ชั่วคราว

เนื่องจากอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 ขยายขอบเขตมาถึงต่างระดับฉิมพลี ทำให้บริษัท ขนส่ง จำกัด แจ้งปิดสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) ถนนบรมราชชนนี โดยได้ย้ายการให้บริการไปยังโรงเบียร์ฮอลแลนด์ สาขาพระราม 2 ซึ่งตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 2 ฝั่งขาเข้ากรุงเทพฯ ติดกับศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เป็นสถานีขนส่งชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ต่อมา ในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 สถานีขนส่งสายใต้เริ่มกลับมาทำการใหม่อีกครั้ง หลังจากสถานการณ์เริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ [1]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°46′52″N 100°25′30″E / 13.781178°N 100.425112°E / 13.781178; 100.425112