ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีห้าแยกลาดพร้าว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ciwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
ถนนพหลโยธิน บริเวณใกล้กับจุดบรรจบถนนลาดพร้าว และถนนหอวัง ด้านหน้าศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว]] และ[[โรงเรียนหอวัง]] ในพื้นที่แขวงจตุจักร [[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
ถนนพหลโยธิน บริเวณใกล้กับจุดบรรจบถนนลาดพร้าว และถนนหอวัง ด้านหน้าศูนย์การค้า[[เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว]] และ[[โรงเรียนหอวัง]] ในพื้นที่แขวงจตุจักร [[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]]


เดิมทีตามแผนงานของกรุงเทพมหานครและบีทีเอสซี สถานีแห่งนี้จะใช้ชื่อสถานีว่า '''สถานีหอวัง''' เนื่องมาจากตั้งอยู่ด้านหน้าถนนหอวังและโรงเรียนหอวังซึ่งเป็นสัญลักษณ์ใหญ่ของพื้นที่ แต่หลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้โอนย้ายโครงการไปอยู่ภายใต้การดำเนินการของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย จึงได้มีการพิจารณาชื่อสถานีใหม่หลายแห่งโดยอ้างอิงจากความไม่แน่นอนของสถานที่ที่ใช้อ้างอิงชื่อสถานี จึงทำให้สถานีหอวังเปลี่ยนชื่อมาเป็น '''สถานีห้าแยกลาดพร้าว''' ในปัจจุบัน ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษจากเดิม Ladphrao Intersection เป็น Ha Yaek Lat Phrao ซึ่งมาจากการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง
เดิมทีตามแผนงานของกรุงเทพมหานครและบีทีเอสซี สถานีแห่งนี้จะใช้ชื่อสถานีว่า '''สถานีหอวัง''' เนื่องมาจากตั้งอยู่ด้านหน้าถนนหอวังและโรงเรียนหอวังซึ่งเป็นสัญลักษณ์ใหญ่ของพื้นที่ แต่หลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้โอนย้ายโครงการไปอยู่ภายใต้การดำเนินการของ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] จึงได้มีการพิจารณาชื่อสถานีใหม่หลายแห่งโดยอ้างอิงจากความไม่แน่นอนของสถานที่ที่ใช้อ้างอิงชื่อสถานี จึงทำให้สถานีหอวังเปลี่ยนชื่อมาเป็น '''สถานีห้าแยกลาดพร้าว''' ในปัจจุบัน ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษจากเดิม Ladphrao Intersection เป็น Ha Yaek Lat Phrao ซึ่งมาจากการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง


ปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) สถานีห้าแยกลาดพร้าว เป็นสถานีปลายทางในส่วนเหนือ (Northbound Section) ของโครงการ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 (สุขุมวิท)]] ไปจนกว่าการก่อสร้างและติดตั้งระบบในส่วนต่อขยายสายพหลโยธินระยะที่ 2 ตั้งแต่สถานีห้าแยกลาดพร้าว ไปจนถึง[[สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] จะแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562
ปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) สถานีห้าแยกลาดพร้าว เป็นสถานีปลายทางในส่วนเหนือ (Northbound Section) ของโครงการ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท|รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 (สุขุมวิท)]] ไปจนกว่าการก่อสร้างและติดตั้งระบบในส่วนต่อขยายสายพหลโยธินระยะที่ 2 ตั้งแต่สถานีห้าแยกลาดพร้าว ไปจนถึง[[สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] จะแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, ถนนหอวัง, โรงเรียนหอวัง
| style = "border-bottom:solid 1px gray;" valign=top|ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, ถนนหอวัง, โรงเรียนหอวัง
|}
|}
ในบางช่วงเวลา ได้แก่ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 07.00–09.00 น. และ 17.00–20.00 น. รถไฟฟ้าจะมีการแบ่งการเดินรถออกเป็นสองช่วงสถานีปลายทาง คือหมอชิต-สำโรงและห้าแยกลาดพร้าว-เคหะฯ โดยปล่อยรถสลับตลอดช่วงเวลา ผู้โดยสารที่เดินทางมากับขบวนรถสถานีปลายทางหมอชิต จะต้องเปลี่ยนขบวนรถใหม่ที่สถานีสะพานควายเพื่อเดินทางเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าว หรือเปลี่ยนชานชาลาที่สถานีหมอชิต นอกช่วงเวลาดังกล่าวจะมีรถวิ่งเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าวตลอดทั้งวัน
ในบางช่วงเวลา ได้แก่ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 07.00 – 09.00 น. และ 17.00 – 20.00 น. รถไฟฟ้าจะมีการแบ่งการเดินรถออกเป็นสองช่วงสถานีปลายทาง คือหมอชิต-สำโรง และห้าแยกลาดพร้าว-เคหะฯ โดยปล่อยรถสลับตลอดช่วงเวลา ผู้โดยสารที่เดินทางมากับขบวนรถสถานีปลายทางหมอชิต จะต้องเปลี่ยนขบวนรถใหม่ที่สถานีสะพานควายเพื่อเดินทางเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าว หรือเปลี่ยนชานชาลาที่สถานีหมอชิต นอกช่วงเวลาดังกล่าวจะมีรถวิ่งเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าวตลอดทั้งวัน


และเนื่องจากเป็นสถานีปลายทาง รถไฟฟ้าที่มาจากสถานีเคหะฯ จะใช้ที่ชานชาลาที่ 2 เป็นชานชาลาปลายทาง ผู้โดยสารที่มาจากสถานีหมอชิตเมื่อมาถึงแล้วจะต้องลงจากขบวนทั้งหมดที่ชานชาลาที่ 2 จากนั้นขบวนรถจะกลับทิศบริเวณทางวิ่งช่วงสถานีห้าแยกลาดพร้าว-สถานีพหลโยธิน 24 ทางทิศเหนือของสถานี เพื่อมุ่งหน้ามารับผู้โดยสารที่จะเดินทาง ที่ชานชาลาที่ 1 ฝั่งตรงข้าม
และเนื่องจากเป็นสถานีปลายทาง รถไฟฟ้าที่มาจากสถานีเคหะฯ จะใช้ที่ชานชาลาที่ 2 เป็นชานชาลาปลายทาง ผู้โดยสารที่มาจากสถานีหมอชิตเมื่อมาถึงแล้วจะต้องลงจากขบวนทั้งหมดที่ชานชาลาที่ 2 จากนั้นขบวนรถจะกลับทิศบริเวณทางวิ่งช่วงสถานีห้าแยกลาดพร้าว-สถานีพหลโยธิน 24 ทางทิศเหนือของสถานี เพื่อมุ่งหน้ามารับผู้โดยสารที่จะเดินทาง ที่ชานชาลาที่ 1 ฝั่งตรงข้าม
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
== รายละเอียดของสถานี ==
== รายละเอียดของสถานี ==
=== รูปแบบของสถานี ===
=== รูปแบบของสถานี ===
เป็นแบบ[[ชานชาลาเกาะกลาง]] (island platform station) ขนาดมาตรฐาน เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ กรณีผู้ให้บริการเป็นอีกราย ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Doors
เป็นแบบ[[ชานชาลาเกาะกลาง]] (island platform station) ขนาดมาตรฐาน เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ กรณีที่ผู้ให้บริการเป็นอีกราย ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Doors


===สัญลักษณ์ของสถานี===
===สัญลักษณ์ของสถานี===
บรรทัด 69: บรรทัด 69:
* ทางเดินเชื่อมภายในสถานีระหว่างทางออกที่ 3-5 และทางออกที่ 1, 2, และ 6 โดยไม่ต้องผ่านพื้นที่ตรวจบัตรโดยสารแล้ว
* ทางเดินเชื่อมภายในสถานีระหว่างทางออกที่ 3-5 และทางออกที่ 1, 2, และ 6 โดยไม่ต้องผ่านพื้นที่ตรวจบัตรโดยสารแล้ว
* สะพานลอยเชื่อมต่อกับ[[สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีพหลโยธิน]] ของ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ''(กำลังก่อสร้าง)''
* สะพานลอยเชื่อมต่อกับ[[สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีพหลโยธิน]] ของ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] ''(กำลังก่อสร้าง)''
* สะพานลอยเชื่อมต่อไปยัง[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] บริเวณ [[ปตท.]]สำนักงานใหญ่ และ[[โรงเรียนหอวัง]]<ref>[https://www.prachachat.net/property/news-319407 แยกลาดพร้าวคึกทุ่มผุด “สกายวอล์ก” เชื่อมเซ็นทรัล-รถไฟฟ้าใต้ดิน-บีทีเอส],สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2562</ref> ''(กำลังก่อสร้าง)''
* สะพานลอยเชื่อมต่อไปยัง[[ถนนวิภาวดีรังสิต]] บริเวณสำนักงานใหญ่กลุ่ม [[ปตท.]] และ[[โรงเรียนหอวัง]]<ref>[https://www.prachachat.net/property/news-319407 แยกลาดพร้าวคึกทุ่มผุด “สกายวอล์ก” เชื่อมเซ็นทรัล-รถไฟฟ้าใต้ดิน-บีทีเอส],สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2562</ref> ''(กำลังก่อสร้าง)''


== ทางเข้า-ออก ==
== ทางเข้า-ออก ==
บรรทัด 80: บรรทัด 80:
* '''6''' {{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}} '''[[สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีพหลโยธิน]]''', ยูเนียนมอลล์, สวนสมเด็จย่า ๘๔ (ทางเดินยกระดับ) ''(ยังไม่เปิดใช้)''
* '''6''' {{BTS Lines|รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล}} '''[[สถานีพหลโยธิน (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีพหลโยธิน]]''', ยูเนียนมอลล์, สวนสมเด็จย่า ๘๔ (ทางเดินยกระดับ) ''(ยังไม่เปิดใช้)''


จุดรวมพลอยู่ที่ทางออกที่ 2 บริเวณพื้นถนนก่อนถึงป้ายรถประจำทางไปสวนจตุจักร และทางออกที่ 3 บริเวณด้านหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาลาดพร้าว ก่อนถึงถนนหอวัง
จุดรวมพลอยู่ที่ทางออกที่ 2 บริเวณพื้นถนนก่อนถึงป้ายรถประจำทางไปสวนจตุจักร และทางออกที่ 3 บริเวณด้านหน้าห้าง[[สรรพสินค้าเซ็นทรัล]] สาขาลาดพร้าว ก่อนถึงถนนหอวัง


== เวลาให้บริการ ==
== เวลาให้บริการ ==
บรรทัด 98: บรรทัด 98:
! สายที่ !! ต้นทาง !! ปลายทาง !! หมายเหตุ !!
! สายที่ !! ต้นทาง !! ปลายทาง !! หมายเหตุ !!
|-
|-
! colspan="4" style="background-color:green;color:white; height:25px" | องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
! colspan="4" style="background-color:green;color:white; height:25px" | [[องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ]] (ขสมก.)
|-
|-
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 24 || ประชานิเวศน์ 3 || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ || วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 24 || ประชานิเวศน์ 3 || [[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] || วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
|-
|-
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 26 || มีนบุรี || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 26 || มีนบุรี || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
|-
|-
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 34 || รังสิต || หัวลำโพง || วิ่งเส้นพหลโยธิน
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 34 || รังสิต || [[สถานีรถไฟหัวลำโพง|หัวลำโพง]] || วิ่งเส้นพหลโยธิน
|-
|-
| style="background-color:orange;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 39 || ตลาดไท || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ || วิ่งเส้นพหลโยธิน
| style="background-color:orange;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 39 || ตลาดไท || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ || วิ่งเส้นพหลโยธิน
|-
|-
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 59 || รังสิต || สนามหลวง || วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
| style="background-color:red;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 59 || รังสิต || [[สนามหลวง]] || วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
|-
|-
| style="background-color:orange;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 63 || นครอินทร์ || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
| style="background-color:orange;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 63 || นครอินทร์ || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
บรรทัด 125: บรรทัด 125:
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 28 || รัชโยธิน || สายใต้ใหม่ ||เฉพาะช่วงเช้า
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 28 || รัชโยธิน || สายใต้ใหม่ ||เฉพาะช่วงเช้า
|-
|-
| style="background-color:pink;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 38 || ม.ราชภัฏจันทรเกษม || ม.รามคำแหง2 ||
| style="background-color:pink;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 38 || [[มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม|ม.ราชภัฏจันทรเกษม]] || [[ม.รามคำแหง]] 2 ||
|-
|-
| style="background-color:pink;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 39 || มธ.ศูนย์รังสิต || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
| style="background-color:pink;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 39 || [[ม.ธรรมศาสตร์|มธ.ศูนย์รังสิต]] || อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ||
|-
|-
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 104 || ปากเกร็ด || หมอชิต2 ||
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 104 || ปากเกร็ด || หมอชิต2 ||
บรรทัด 135: บรรทัด 135:
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 524 || หลักสี่ || สนามหลวง || วิ่งเส้นทางประดิพัทธิ์-สามแสน
| style="background-color:blue;color:white;text-align:center;font-weight:bold" | 524 || หลักสี่ || สนามหลวง || วิ่งเส้นทางประดิพัทธิ์-สามแสน
|-
|-
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 529 || แสมดำ || หมอชิต2 ||
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 529 || แสมดำ || [[หมอชิต 2]] ||
|-
|-
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 545 || ท่าน้ำนนทบุรี || ห้าแยกลาดพร้าว ||
| style="background-color:yellow;color:black;text-align:center;font-weight:bold" | 545 || ท่าน้ำนนทบุรี || ห้าแยกลาดพร้าว ||
บรรทัด 142: บรรทัด 142:


== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
== สถานที่สำคัญใกล้เคียง ==
* เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
* [[เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว]]
** โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพ
** โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพ
** อาคารสำนักงานเซ็นทรัล ทาวเวอร์ ลาดพร้าว
** อาคารสำนักงานเซ็นทรัล ทาวเวอร์ ลาดพร้าว

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:31, 29 สิงหาคม 2562

แม่แบบ:BTS infobox

สถานีห้าแยกลาดพร้าว (อังกฤษ: Ha Yaek Lat Phrao Station, รหัส N9) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ส่วนต่อขยายหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต ระยะทาง 19 กิโลเมตร ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน บริเวณด้านหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 สถานีห้าแยกลาดพร้าวจะเริ่มคิดค่าโดยสารในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2562 พร้อมกับ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท ช่วงสถานีแบริ่ง ถึง สถานีเคหะฯ[1]

ที่ตั้ง

ถนนพหลโยธิน บริเวณใกล้กับจุดบรรจบถนนลาดพร้าว และถนนหอวัง ด้านหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว และโรงเรียนหอวัง ในพื้นที่แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

เดิมทีตามแผนงานของกรุงเทพมหานครและบีทีเอสซี สถานีแห่งนี้จะใช้ชื่อสถานีว่า สถานีหอวัง เนื่องมาจากตั้งอยู่ด้านหน้าถนนหอวังและโรงเรียนหอวังซึ่งเป็นสัญลักษณ์ใหญ่ของพื้นที่ แต่หลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้โอนย้ายโครงการไปอยู่ภายใต้การดำเนินการของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย จึงได้มีการพิจารณาชื่อสถานีใหม่หลายแห่งโดยอ้างอิงจากความไม่แน่นอนของสถานที่ที่ใช้อ้างอิงชื่อสถานี จึงทำให้สถานีหอวังเปลี่ยนชื่อมาเป็น สถานีห้าแยกลาดพร้าว ในปัจจุบัน ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษจากเดิม Ladphrao Intersection เป็น Ha Yaek Lat Phrao ซึ่งมาจากการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง

ปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) สถานีห้าแยกลาดพร้าว เป็นสถานีปลายทางในส่วนเหนือ (Northbound Section) ของโครงการรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 (สุขุมวิท) ไปจนกว่าการก่อสร้างและติดตั้งระบบในส่วนต่อขยายสายพหลโยธินระยะที่ 2 ตั้งแต่สถานีห้าแยกลาดพร้าว ไปจนถึงสถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562

แผนผังสถานี

U3
ชานชาลา
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านขวา
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ไม่เปิดใช้), สถานีปลายทาง
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-5, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว และโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว
สะพานลอยเชื่อมต่อ แม่แบบ:BTS Lines สถานีพหลโยธิน, ยูเนี่ยนมอลล์ และอาคารเอ็นเนอร์ยีคอมเพล็กซ์ (กำลังก่อสร้าง)
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, ถนนพหลโยธิน, ถนนหอวัง, โรงเรียนหอวัง

ในบางช่วงเวลา ได้แก่ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 07.00 – 09.00 น. และ 17.00 – 20.00 น. รถไฟฟ้าจะมีการแบ่งการเดินรถออกเป็นสองช่วงสถานีปลายทาง คือหมอชิต-สำโรง และห้าแยกลาดพร้าว-เคหะฯ โดยปล่อยรถสลับตลอดช่วงเวลา ผู้โดยสารที่เดินทางมากับขบวนรถสถานีปลายทางหมอชิต จะต้องเปลี่ยนขบวนรถใหม่ที่สถานีสะพานควายเพื่อเดินทางเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าว หรือเปลี่ยนชานชาลาที่สถานีหมอชิต นอกช่วงเวลาดังกล่าวจะมีรถวิ่งเข้าสถานีห้าแยกลาดพร้าวตลอดทั้งวัน

และเนื่องจากเป็นสถานีปลายทาง รถไฟฟ้าที่มาจากสถานีเคหะฯ จะใช้ที่ชานชาลาที่ 2 เป็นชานชาลาปลายทาง ผู้โดยสารที่มาจากสถานีหมอชิตเมื่อมาถึงแล้วจะต้องลงจากขบวนทั้งหมดที่ชานชาลาที่ 2 จากนั้นขบวนรถจะกลับทิศบริเวณทางวิ่งช่วงสถานีห้าแยกลาดพร้าว-สถานีพหลโยธิน 24 ทางทิศเหนือของสถานี เพื่อมุ่งหน้ามารับผู้โดยสารที่จะเดินทาง ที่ชานชาลาที่ 1 ฝั่งตรงข้าม

รายละเอียดของสถานี

รูปแบบของสถานี

เป็นแบบชานชาลาเกาะกลาง (island platform station) ขนาดมาตรฐาน เพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ กรณีที่ผู้ให้บริการเป็นอีกราย ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา มีประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Doors

สัญลักษณ์ของสถานี

ใช้สีเขียวเข้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินเหนือ กรณีนี้จะแตกต่างจากสถานีในหมวด N ของบีทีเอสเดิมที่กำหนดให้สีส้มเป็นเส้นทางส่วนเหนือ เนื่องจาก รฟม. อ้างอิงสีของโครงการโดยใช้สีที่ปรากฏตามแผนแม่บทโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง ที่กำหนดให้เส้นทางช่วงวงแหวนรอบนอกตะวันออก-หมอชิต-สะพานตากสิน-บางหว้าเป็นรถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม และเส้นทางช่วงยศเส-สนามกีฬาแห่งชาติ-อ่อนนุช-บางปูเป็นรถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน

สิ่งอำนวยความสะดวก

ทางเข้า-ออก

ประกอบด้วยทางขึ้น-ลงปกติ, สะพานเชื่อมต่ออาคาร และทางเดินใต้รางรถไฟฟ้า (Sky Walk) ได้แก่

  • 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว (สะพานเชื่อม), เดอะ วัน พาร์ค
  • 2 คอนโดมิเนียม เอ็ม ลาดพร้าว (ลิฟต์)
  • 3 ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาลาดพร้าว (สะพานเชื่อม พร้อมลิฟต์), โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพ, ถนนหอวัง
  • 4 วานิสสา คลีนิคเวชกรรม, คอนโดมิเนียมไลฟ์ ลาดพร้าว
  • 5 โรงเรียนหอวัง, เทสโก้โลตัส สาขาลาดพร้าว (ทางเดินยกระดับ)
  • 6 แม่แบบ:BTS Lines สถานีพหลโยธิน, ยูเนียนมอลล์, สวนสมเด็จย่า ๘๔ (ทางเดินยกระดับ) (ยังไม่เปิดใช้)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออกที่ 2 บริเวณพื้นถนนก่อนถึงป้ายรถประจำทางไปสวนจตุจักร และทางออกที่ 3 บริเวณด้านหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขาลาดพร้าว ก่อนถึงถนนหอวัง

เวลาให้บริการ

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท
E23 เคหะฯ 05.17 23.42 / 00.12 (สำโรง)

การเชื่อมต่อรถโดยสารประจำทาง

ถนนพหลโยธิน
สายที่ ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
24 ประชานิเวศน์ 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
26 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
34 รังสิต หัวลำโพง วิ่งเส้นพหลโยธิน
39 ตลาดไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ วิ่งเส้นพหลโยธิน
59 รังสิต สนามหลวง วิ่งเส้นวิภาวดีรังสิต
63 นครอินทร์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
107 บางเขน คลองเตย ขึ้นทางด่วนดินแดง
129 บางเขน สำโรง ขึ้นทางด่วนดินแดง
136 คลองเตย หมอชิต 2
503 รังสิต สนามหลวง วิ่งเส้นพหลโยธิน
รถเอกชนร่วมบริการ
28 รัชโยธิน สายใต้ใหม่ เฉพาะช่วงเช้า
38 ม.ราชภัฏจันทรเกษม ม.รามคำแหง 2
39 มธ.ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
104 ปากเกร็ด หมอชิต2
108 รัชโยธิน ท่าพระ เฉพาะช่วงเช้า
524 หลักสี่ สนามหลวง วิ่งเส้นทางประดิพัทธิ์-สามแสน
529 แสมดำ หมอชิต 2
545 ท่าน้ำนนทบุรี ห้าแยกลาดพร้าว

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีพหลโยธิน 24
มุ่งหน้า สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(ยังไม่เปิดใช้)
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีหมอชิต
มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ
สถานีลาดพร้าว
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines
(การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย)
เชื่อมต่อที่ สถานีพหลโยธิน
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีสวนจตุจักร
มุ่งหน้า สถานีเตาปูน