ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โชห่วย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มาร (คุย | ส่วนร่วม)
→‎บรรณานุกรม: แก้ไขเล็กน้อย
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
มาร (คุย | ส่วนร่วม)
→‎รากศัพท์: เพิ่มลิงก์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
คำว่า '''โชห่วย''' ในความหมายของคนไทยคือ ร้านขายของชำ สันนิษฐานว่ามาจาก[[ภาษาจีน]]เขียนว่า '''粗货'''<ref>นวรัตน์ ภักดีคำ, 2553, หน้า 78</ref> ออกเสียง[[จีนกลาง]]ว่า "ชู ฮั่ว" ( ''ชู'' - 粗 หมายถึง ใหญ่ ๆ หรือ หยาบ, ''ฮั่ว'' - 货 หมายถึง สินค้า, แปลรวมๆ หมายความว่า มีของขายเยอะแยะมากมาย) ใน[[ภาษาฮกเกี้ยน|สำเนียงจีนฮกเกี้ยน]] ที่เป็นชาวจีนที่มาค้าขายรุ่นแรก ๆ ในไทย แถบ[[ปีนัง]] [[มลายู]] และ[[ภูเก็ต]] ก็ออกเสียงว่า '''โชฮ่วย''' หรือ '''ชุกห่วย'''
คำว่า '''โชห่วย''' ในความหมายของคนไทยคือ ร้านขายของชำ สันนิษฐานว่ามาจาก[[ภาษาจีน]]เขียนว่า '''粗货'''<ref>นวรัตน์ ภักดีคำ, 2553, หน้า 78</ref> ออกเสียง[[จีนกลาง]]ว่า "ชู ฮั่ว" ( ''ชู'' - 粗 หมายถึง ใหญ่ ๆ หรือ หยาบ, ''ฮั่ว'' - 货 หมายถึง สินค้า, แปลรวมๆ หมายความว่า มีของขายเยอะแยะมากมาย) ใน[[ภาษาฮกเกี้ยน|สำเนียงจีนฮกเกี้ยน]] ที่เป็นชาวจีนที่มาค้าขายรุ่นแรก ๆ ในไทย แถบ[[ปีนัง]] [[มลายู]] และ[[ภูเก็ต]] ก็ออกเสียงว่า '''โชฮ่วย''' หรือ '''ชุกห่วย'''


คำว่าโชห่วย ในภาษาจีนแต้จิ๋ว บางครั้งเรียกว่า '''จับห่วย''' (雜貨) หรือ '''แป๊ะห่วย''' (百貨) ในขณะที่[[ภาษากวางตุ้ง]]จะออกเสียงว่า <ref>'''จาบฟอโผว'''</ref>
คำว่าโชห่วย ในภาษาจีนแต้จิ๋ว บางครั้งเรียกว่า '''จับห่วย''' (雜貨) หรือ '''แป๊ะห่วย''' (百貨) ในขณะที่[[ภาษากวางตุ้ง]]จะออกเสียงว่า '''จาบฟอโผว'''<ref>ตอนที่ ๑
ตำนาน "จาบฟอโผว"</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:23, 28 สิงหาคม 2562

โชห่วย คือ ร้านขายของชำ ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เป็นคำที่มาจากภาษาจีนแต้จิ๋วว่า 粗货อ่านว่าโชวห่วย ตัวหนังสือจีน 粗 อาจแปลได้ว่า หยาบ พื้นๆ บ้านๆ (ตรงข้ามกับ ละเอียดประณีต) ส่วนตัวหนังสือ 货 แปลว่าสินค้า สิ่งของ รวมกันจึงหมายถึงสินค้าพื้นๆ ที่ใช้กินใช้สอยประจำวัน ร้านขายของชำ สะดวกซื้อ สารพัดสิ่ง มักมีลักษณะอยู่ในตึกแถว มีขนาดต่างๆ กันตั้งแตคูหาเดียวถึงหลายคูหา โดยมากเป็นกิจการเล็กๆ กิจการในครัวเรือน สร้างรายรับเล็กๆ น้อยๆ ใช้ในชีวิตประจำวัน ปัจจุบัน มีจำนวนน้อยลงไปมาก เนื่องจากไม่ได้รับการปรับรูปแบบให้ทันสมัย และต้องเผชิญกับคู่แข่งยุคโมเดิร์นเทรดที่เป็นร้านสะดวกซื้อ รูปลักษณ์ทันสมัย ติดแอร์ เปิดตลอด 24 ชั่วโมง

รากศัพท์

คำว่า โชห่วย ในความหมายของคนไทยคือ ร้านขายของชำ สันนิษฐานว่ามาจากภาษาจีนเขียนว่า 粗货[1] ออกเสียงจีนกลางว่า "ชู ฮั่ว" ( ชู - 粗 หมายถึง ใหญ่ ๆ หรือ หยาบ, ฮั่ว - 货 หมายถึง สินค้า, แปลรวมๆ หมายความว่า มีของขายเยอะแยะมากมาย) ในสำเนียงจีนฮกเกี้ยน ที่เป็นชาวจีนที่มาค้าขายรุ่นแรก ๆ ในไทย แถบปีนัง มลายู และภูเก็ต ก็ออกเสียงว่า โชฮ่วย หรือ ชุกห่วย

คำว่าโชห่วย ในภาษาจีนแต้จิ๋ว บางครั้งเรียกว่า จับห่วย (雜貨) หรือ แป๊ะห่วย (百貨) ในขณะที่ภาษากวางตุ้งจะออกเสียงว่า จาบฟอโผว[2]

อ้างอิง

  1. นวรัตน์ ภักดีคำ, 2553, หน้า 78
  2. ตอนที่ ๑ ตำนาน "จาบฟอโผว"

บรรณานุกรม

  • ตอนที่ ๑

ตำนาน "จาบฟอโผว"