ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไป"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Good
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
PlyrStar93 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:44C8:4446:3A7:40B2:3872:EC61:A926 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Thammarith
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Common_ethanol_fuel_mixtures.png|thumb|บทสรุปของเอทานอลส่วนผสมสำคัญที่นำมาใช้ทั่วโลก]]
[[ไฟล์:Common_ethanol_fuel_mixtures.png|thumb|บทสรุปของเอทานอลส่วนผสมสำคัญที่นำมาใช้ทั่วโลก]]
มี'''สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไป'''ใช้หลายแบบทั่วโลก การใช้เอทานอลมีน้ำหรือไร้น้ำในเครื่องยนต์สันดาปภายในจะเป็นไปได้ต่อเมื่อมีการออกแบบหรือดัดแปรเครื่องยนต์สำหรับความมุ่งหมายนั้น และใช้ได้เฉพาะในรถยนต์ รถบรรทุกขนาดเบาและรถจักรยานยนต์ เอทานอลไร้น้ำสามารถผสมกับ[[แก๊สโซลีน|แก๊สหุงตับ]](เบน10) สำหรับใช้ในเครื่องยนต์แก๊สโซลีน แต่เอทานอลที่มีปริมาณเอทานอลสูงจะได้ก็ต่อเมื่อมีการดัดแปรเครื่องยนต์เล็กน้อย
มี'''สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไป'''ใช้หลายแบบทั่วโลก การใช้เอทานอลมีน้ำหรือไร้น้ำในเครื่องยนต์สันดาปภายในจะเป็นไปได้ต่อเมื่อมีการออกแบบหรือดัดแปรเครื่องยนต์สำหรับความมุ่งหมายนั้น และใช้ได้เฉพาะในรถยนต์ รถบรรทุกขนาดเบาและรถจักรยานยนต์ เอทานอลไร้น้ำสามารถผสมกับ[[แก๊สโซลีน]] (เบนซิน) สำหรับใช้ในเครื่องยนต์แก๊สโซลีน แต่เอทานอลที่มีปริมาณเอทานอลสูงจะได้ก็ต่อเมื่อมีการดัดแปรเครื่องยนต์เล็กน้อย


สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลมีหมายเลข "E" ซึ่งอธิบายร้อยละของเชื้อเพลิงเอทานอลในสสารผสมโดยปริมาณ เช่น E85 คือ เอทานอลไร้น้ำ 85% กับแก๊สโซลีน 15% การผสมเอทานอลต่ำ ตั้งแต่ E5 ถึง E25 เรียกอีกอย่างว่า '''แก๊สโซฮอล์''' (gasohol, ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถานว่า '''แกโซฮอล''') แม้ในระดับนานาชาติ คำนี้ใช้หมายถึงสูตรผสม E10 มากที่สุด
สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลมีหมายเลข "E" ซึ่งอธิบายร้อยละของเชื้อเพลิงเอทานอลในสสารผสมโดยปริมาณ เช่น E85 คือ เอทานอลไร้น้ำ 85% กับแก๊สโซลีน 15% การผสมเอทานอลต่ำ ตั้งแต่ E5 ถึง E25 เรียกอีกอย่างว่า '''แก๊สโซฮอล์''' (gasohol, ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถานว่า '''แกโซฮอล''') แม้ในระดับนานาชาติ คำนี้ใช้หมายถึงสูตรผสม E10 มากที่สุด


สำหรับน้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นมีองค์ประกอบต่างกับน้ำมันเบนซิน คือporn hub เอมทีบีอี (MTBE) เป็นตัวเพิ่ม[[ออคเทน]] ส่วนน้ำมันแก๊สโซฮอล์ใช้[[เอทานอล]] เป็นตัวเพิ่มออคเทน เอทานอลให้พลังงานน้อยกว่าเอมทีบีอี (MTBE) โดยต่างกันอยู่ร้อยละ 1.6-1.8 การใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้น[[ออกซิเจน]]ที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในเอทานอล จะช่วยให้การเผาไหม้ภายในห้องเครื่องสมบูรณ์ขึ้นอีก และลดปริมาณก๊าซ[[คาร์บอนมอนอกไซด์]]ที่จะปล่อยออกมาจากท่อไอลดา
สำหรับน้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นมีองค์ประกอบต่างกับน้ำมันเบนซิน คือน้ำมันเบนซินมี เอมทีบีอี (MTBE) เป็นตัวเพิ่ม[[ออคเทน]] ส่วนน้ำมันแก๊สโซฮอล์ใช้[[เอทานอล]] เป็นตัวเพิ่มออคเทน เอทานอลให้พลังงานน้อยกว่าเอมทีบีอี (MTBE) โดยต่างกันอยู่ร้อยละ 1.6-1.8 การใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้น[[ออกซิเจน]]ที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในเอทานอล จะช่วยให้การเผาไหม้ภายในห้องเครื่องสมบูรณ์ขึ้นอีก และลดปริมาณก๊าซ[[คาร์บอนมอนอกไซด์]]ที่จะปล่อยออกมาจากท่อไอเสีย


== แก๊สโซฮอล์ในประเทศไทย ==
== แก๊สโซฮอล์ในประเทศไทย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:06, 28 สิงหาคม 2562

บทสรุปของเอทานอลส่วนผสมสำคัญที่นำมาใช้ทั่วโลก

มีสสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลทั่วไปใช้หลายแบบทั่วโลก การใช้เอทานอลมีน้ำหรือไร้น้ำในเครื่องยนต์สันดาปภายในจะเป็นไปได้ต่อเมื่อมีการออกแบบหรือดัดแปรเครื่องยนต์สำหรับความมุ่งหมายนั้น และใช้ได้เฉพาะในรถยนต์ รถบรรทุกขนาดเบาและรถจักรยานยนต์ เอทานอลไร้น้ำสามารถผสมกับแก๊สโซลีน (เบนซิน) สำหรับใช้ในเครื่องยนต์แก๊สโซลีน แต่เอทานอลที่มีปริมาณเอทานอลสูงจะได้ก็ต่อเมื่อมีการดัดแปรเครื่องยนต์เล็กน้อย

สสารผสมอากาศกับเชื้อเพลิงเอทานอลมีหมายเลข "E" ซึ่งอธิบายร้อยละของเชื้อเพลิงเอทานอลในสสารผสมโดยปริมาณ เช่น E85 คือ เอทานอลไร้น้ำ 85% กับแก๊สโซลีน 15% การผสมเอทานอลต่ำ ตั้งแต่ E5 ถึง E25 เรียกอีกอย่างว่า แก๊สโซฮอล์ (gasohol, ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถานว่า แกโซฮอล) แม้ในระดับนานาชาติ คำนี้ใช้หมายถึงสูตรผสม E10 มากที่สุด

สำหรับน้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นมีองค์ประกอบต่างกับน้ำมันเบนซิน คือน้ำมันเบนซินมี เอมทีบีอี (MTBE) เป็นตัวเพิ่มออคเทน ส่วนน้ำมันแก๊สโซฮอล์ใช้เอทานอล เป็นตัวเพิ่มออคเทน เอทานอลให้พลังงานน้อยกว่าเอมทีบีอี (MTBE) โดยต่างกันอยู่ร้อยละ 1.6-1.8 การใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์นั้นออกซิเจนที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในเอทานอล จะช่วยให้การเผาไหม้ภายในห้องเครื่องสมบูรณ์ขึ้นอีก และลดปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่จะปล่อยออกมาจากท่อไอเสีย

แก๊สโซฮอล์ในประเทศไทย

แก๊สโซฮอล์ในประเทศไทยเกิดขึ้นจากพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2528 ที่ทรงเล็งเห็นถึงปัญหาการขาดแคลนน้ำมัน โดยได้ทรงศึกษาการนำอ้อยมาแปรรูปเป็นแอลกอฮอล์ และนำแอลกอฮอล์มาผลิตเป็นน้ำมันแก๊สโซฮอล์

น้ำมันแก๊สโซฮอล์ถือเป็นพลังงานทางเลือกที่เริ่มได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศต่างๆ แทบทุกทวีปทั่วโลก เช่น อเมริกา แคนาดา บราซิล เคนยา ปารากวัย สเปน สวีเดน ออสเตรเลีย จีน ฯลฯ เนื่องจากเป็นพลังงานที่มีผลดีหลายอย่าง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ อาทิ อ้อย กากน้ำตาล และมันสำปะหลัง ซึ่งล้วนแต่สามารถจัดหาและปลูกขึ้นได้ใหม่ในเวลาอันสั้น

ปัจจุบัน น้ำมันแก๊สโซฮอล์ ที่นิยมจำหน่ายในสถานีบริการน้ำมันทั่วไป คือน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95 และน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91 ซึ่งมีส่วนผสมของเอทานอลไม่เกินร้อยละ 10 โดยรถยนต์ระบบหัวฉีดสามารถใช้แทนน้ำมันเบนซินได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องดัดแปลงเครื่องยนต์ แต่แก๊สโซฮอล์ชนิดอื่นก็มี แก๊สโซฮอล์ E20 ซึ่งมีส่วนผสมของเอทานอลร้อยละ 20 และแก๊สโซฮอล์ E85 ซึ่งมีส่วนผสมของเอทานอลร้อยละ 85

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น