ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาวทรงเสน่ห์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Larazhivago (คุย | ส่วนร่วม)
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: fixed: [[หมวดหมู่:นวนิยายอังกฤษดัดแปลง...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| image = [[ไฟล์:PrideAndPrejudiceTitlePage.jpg|180px]]
| image = [[ไฟล์:PrideAndPrejudiceTitlePage.jpg|180px]]
| image_caption =
| image_caption =
| author = [[เจน ออสเตน]]
| author = [[เจน ออสติน]]
| illustrator =
| illustrator =
| cover_artist =
| cover_artist =
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
| followed_by =
| followed_by =
}}
}}
'''สาวทรงเสน่ห์''' ({{lang-en|Pride and Prejudice}}) เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดย [[เจน ออสเตน]] สุภาพสตรีชาว[[อังกฤษ]] ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1813 เป็นผลงานที่ตีพิมพ์เป็นเรื่องที่สองของเธอ แต่มีข้อมูลระบุว่างานเขียนชิ้นนี้เป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของเธอ โดยประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1796-1797 ทว่าในยุคนั้นยังเป็นยุคของนิยายเชิงเพ้อฝัน (เรื่องของพระราชา ราชวงศ์ การสู้รบ และเกียรติยศของอัศวิน) ดังนั้นนวนิยายของเธอเรื่องนี้จึงถือว่าแหวกประเพณีการประพันธ์ในยุคเดียวกันอย่างมาก
'''สาวทรงเสน่ห์''' ({{lang-en|Pride and Prejudice}}) เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดย[[เจน ออสติน]] สุภาพสตรีชาว[[อังกฤษ]] ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1813 เป็นผลงานที่ตีพิมพ์เป็นเรื่องที่สองของเธอ แต่มีข้อมูลระบุว่างานเขียนชิ้นนี้เป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของเธอ โดยประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1796-1797 ทว่าในยุคนั้นยังเป็นยุคของนิยายเชิงเพ้อฝัน (เรื่องของพระราชา ราชวงศ์ การสู้รบ และเกียรติยศของอัศวิน) ดังนั้นนวนิยายของเธอเรื่องนี้จึงถือว่าแหวกประเพณีการประพันธ์ในยุคเดียวกันอย่างมาก


''สาวทรงเสน่ห์'' เป็นชื่อหนังสือในฉบับแปลภาษาไทย โดย [[จูเลียต]] (นามปากกาของ [[ชนิด สายประดิษฐ์]] ภริยาของ [[ศรีบูรพา]]) ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2493]] โดยสำนักพิมพ์บำรุงสาส์น
''สาวทรงเสน่ห์'' เป็นชื่อหนังสือในฉบับแปลภาษาไทย โดยจูเลียต (นามปากกาของ[[ชนิด สายประดิษฐ์]] ภริยาของ[[ศรีบูรพา]]) ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 โดยสำนักพิมพ์บำรุงสาส์น


== โครงเรื่อง ==
== โครงเรื่อง ==
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


== ประวัติการตีพิมพ์ ==
== ประวัติการตีพิมพ์ ==
หลังจากออสเตนได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง ''สาวทรงเสน่ห์'' ให้แก่ Thomas Egerton ในราคา 110 ปอนด์ Egerton ตีพิมพ์ ''สาวทรงเสน่ห์'' ชุดแรกเป็นหนังสือปกแข็งสามเล่มในเดือน[[มกราคม]] [[ค.ศ. 1813]]<ref>Le Faye, Deidre (2002). ''Jane Austen: The World of Her Novels''. นิวยอร์ก: Harry N. Abrams. ISBN 0-8109-3285-7.</ref> หนังสือได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี และขายหมดในเวลาอันรวดเร็ว ฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สองได้พิมพ์จำหน่ายต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน และฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สามตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1817<ref name="note">Stafford, Fiona (2004). "Notes on the Text", ''Pride and Prejudice'', Oxford World's Classics (ed. James Kinley). Oxford: Oxford University Press. ISBN 0-19-280238-0.</ref>
หลังจากออสตินได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง ''สาวทรงเสน่ห์'' ให้แก่ Thomas Egerton ในราคา 110 ปอนด์ Egerton ตีพิมพ์ ''สาวทรงเสน่ห์'' ชุดแรกเป็นหนังสือปกแข็งสามเล่มในเดือน[[มกราคม]] [[ค.ศ. 1813]]<ref>Le Faye, Deidre (2002). ''Jane Austen: The World of Her Novels''. นิวยอร์ก: Harry N. Abrams. ISBN 0-8109-3285-7.</ref> หนังสือได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี และขายหมดในเวลาอันรวดเร็ว ฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สองได้พิมพ์จำหน่ายต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน และฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สามตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1817<ref name="note">Stafford, Fiona (2004). "Notes on the Text", ''Pride and Prejudice'', Oxford World's Classics (ed. James Kinley). Oxford: Oxford University Press. ISBN 0-19-280238-0.</ref>


นวนิยายได้แปลไปเป็น[[ภาษาฝรั่งเศส]]ทันทีในปี ค.ศ. 1813 หลังจากนั้นก็ได้แปลไปเป็น[[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]] และ[[ภาษาสวีเดน|สวีเดน]]<ref>Valérie Cossy and Diego Saglia. "Translations". ''Jane Austen in Context''. Ed. Janet Todd. Cambridge: Cambridge University Press, 2005. ISBN 0-521-82644-6.</ref> ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้พิมพ์จำหน่ายใน[[สหรัฐอเมริกา]]ครั้งแรกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1832 ในชื่อเรื่องว่า ''เอลิซาเบธ เบนเน็ต''<ref name="note" />
นวนิยายได้แปลไปเป็น[[ภาษาฝรั่งเศส]]ทันทีในปี ค.ศ. 1813 หลังจากนั้นก็ได้แปลไปเป็น[[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาเดนมาร์ก|เดนมาร์ก]] และ[[ภาษาสวีเดน|สวีเดน]]<ref>Valérie Cossy and Diego Saglia. "Translations". ''Jane Austen in Context''. Ed. Janet Todd. Cambridge: Cambridge University Press, 2005. ISBN 0-521-82644-6.</ref> ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้พิมพ์จำหน่ายใน[[สหรัฐอเมริกา]]ครั้งแรกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1832 ในชื่อเรื่องว่า ''เอลิซาเบธ เบนเน็ต''<ref name="note" />
บรรทัด 38: บรรทัด 38:


== การตอบรับ ==
== การตอบรับ ==
นวนิยายได้รับการตอบรับค่อนข้างดี โดยมีบทวิจารณ์ในทางดีถึงสามฉบับภายในช่วงเดือนแรกหลังการวางจำหน่าย<ref name="cambridge">Fergus, Jan (1997). "The professional woman writer", in E Copeland & J McMaster: ''The Cambridge Companion to Jane Austen''. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. ISBN 0-521-49867-8.</ref> เจน เฟอร์กัส บอกว่า "นี่เป็นนวนิยายของออสเตนที่โด่งดังมาก ทั้งต่อสาธารณชนและคนใกล้ชิดของเธอเอง"<ref name="cambridge" /> ในงานเขียนของเดวิด กิลสัน ''A Bibliography of Jane Austen'' เขาอ้างถึงคำกล่าวของแอนน์ อิซาเบลลา มิลแบงค์ (ภายหลังเป็นภริยาของ[[ลอร์ดไบรอน]]) ว่า ''สาวทรงเสน่ห์'' เป็น "นวนิยายที่ทันสมัยมาก"
นวนิยายได้รับการตอบรับค่อนข้างดี โดยมีบทวิจารณ์ในทางดีถึงสามฉบับภายในช่วงเดือนแรกหลังการวางจำหน่าย<ref name="cambridge">Fergus, Jan (1997). "The professional woman writer", in E Copeland & J McMaster: ''The Cambridge Companion to Jane Austen''. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. ISBN 0-521-49867-8.</ref> เจน เฟอร์กัส บอกว่า "นี่เป็นนวนิยายของออสตินที่โด่งดังมาก ทั้งต่อสาธารณชนและคนใกล้ชิดของเธอเอง"<ref name="cambridge" /> ในงานเขียนของเดวิด กิลสัน ''A Bibliography of Jane Austen'' เขาอ้างถึงคำกล่าวของแอนน์ อิซาเบลลา มิลแบงค์ (ภายหลังเป็นภริยาของ[[ลอร์ดไบรอน]]) ว่า ''สาวทรงเสน่ห์'' เป็น "นวนิยายที่ทันสมัยมาก"


ปี ค.ศ. 1819 เฮนรี แครบบ์ โรบินสัน เอ่ยถึงนวนิยายเรื่องนี้ว่า "...เป็นหนึ่งในงานเขียนชั้นเลิศที่สุดของนักเขียนหญิง"<ref name="critic">Southam, B. C. (ed) (1995). ''Jane Austen: The Critical Heritage'' '''1'''. New York: Routledge. ISBN 978-0-415-13456-9.</ref> เซอร์วอลเตอร์ สก็อตต์ เขียนในบทความของเขาว่า "...เป็นนวนิยายที่คุณออสเตนบรรจงเขียนอย่างละเมียดละไม... สุภาพสตรีเยาว์วัยผู้นี้มีพรสวรรค์ในการบรรยายความสัมพันธ์ ความรู้สึก และลักษณาภาพของชีวิตประจำวันธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุดที่ผมเคยพบเห็น"<ref name="critic" /> อย่างไรก็ดียังมีบางคนไม่เห็นด้วย เช่น ชาร์ล็อตต์ บรองเต ซึ่งเห็นว่า ''สาวทรงเสน่ห์'' น่าผิดหวังมาก "...เป็นสวนสวย ล้อมรั้วอย่างประณีต ประดับดอกไม้งดงาม แต่...ปราศจากท้องทุ่งกว้าง ไร้อากาศบริสุทธิ์ ไม่มีเนินเขาสีฟ้า และไม่เชิญชวนเอาเสียเลย"<ref name="critic" />
ปี ค.ศ. 1819 เฮนรี แครบบ์ โรบินสัน เอ่ยถึงนวนิยายเรื่องนี้ว่า "...เป็นหนึ่งในงานเขียนชั้นเลิศที่สุดของนักเขียนหญิง"<ref name="critic">Southam, B. C. (ed) (1995). ''Jane Austen: The Critical Heritage'' '''1'''. New York: Routledge. ISBN 978-0-415-13456-9.</ref> เซอร์วอลเตอร์ สก็อตต์ เขียนในบทความของเขาว่า "...เป็นนวนิยายที่คุณออสตินบรรจงเขียนอย่างละเมียดละไม... สุภาพสตรีเยาว์วัยผู้นี้มีพรสวรรค์ในการบรรยายความสัมพันธ์ ความรู้สึก และลักษณาภาพของชีวิตประจำวันธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุดที่ผมเคยพบเห็น"<ref name="critic" /> อย่างไรก็ดียังมีบางคนไม่เห็นด้วย เช่น ชาร์ล็อตต์ บรองเต ซึ่งเห็นว่า ''สาวทรงเสน่ห์'' น่าผิดหวังมาก "...เป็นสวนสวย ล้อมรั้วอย่างประณีต ประดับดอกไม้งดงาม แต่...ปราศจากท้องทุ่งกว้าง ไร้อากาศบริสุทธิ์ ไม่มีเนินเขาสีฟ้า และไม่เชิญชวนเอาเสียเลย"<ref name="critic" />


ถึงกระนั้น ''สาวทรงเสน่ห์'' ก็ติดอันดับหนังสือยอดนิยมในการสำรวจต่างๆ ของอังกฤษอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 2003 [[สถานีโทรทัศน์บีบีซี]]จัดการสำรวจครั้งใหญ่เพื่อค้นหา "หนังสือในดวงใจ" ของชาวอังกฤษ ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่สองรองจาก [[ลอร์ดออฟเดอะริงส์]]<ref>[http://www.bbc.co.uk/arts/bigread/top100.shtml "BBC - The Big Read - Top 100 Books"] (พฤษภาคม 2003).</ref> ปี ค.ศ. 2004 ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับสองในการสำรวจหนังสือยอดนิยมของชาวออสเตรเลีย รองจากลอร์ดออฟเดอะริงส์เช่นกัน<ref>[http://www.theage.com.au/media/2004/12/05/1102182155956.html Australia's Favourite Books The Top 50]</ref> ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 มีการสำรวจนักอ่านกว่า 15,000 คนที่[[ประเทศออสเตรเลีย]] โดยร้าน Dymock ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่หนึ่ง ใน 101 หนังสือยอดเยี่ยมตลอดกาล (ลอร์ดออฟเดอะริงส์ได้ที่สอง)<ref>[http://www.thewest.com.au/default.aspx?MenuID=182&ContentID=59459 "Aussie readers vote Pride and Prejudice best book"]. thewest.com.au.</ref>
ถึงกระนั้น ''สาวทรงเสน่ห์'' ก็ติดอันดับหนังสือยอดนิยมในการสำรวจต่างๆ ของอังกฤษอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 2003 [[สถานีโทรทัศน์บีบีซี]]จัดการสำรวจครั้งใหญ่เพื่อค้นหา "หนังสือในดวงใจ" ของชาวอังกฤษ ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่สองรองจาก [[ลอร์ดออฟเดอะริงส์]]<ref>[http://www.bbc.co.uk/arts/bigread/top100.shtml "BBC - The Big Read - Top 100 Books"] (พฤษภาคม 2003).</ref> ปี ค.ศ. 2004 ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับสองในการสำรวจหนังสือยอดนิยมของชาวออสเตรเลีย รองจากลอร์ดออฟเดอะริงส์เช่นกัน<ref>[http://www.theage.com.au/media/2004/12/05/1102182155956.html Australia's Favourite Books The Top 50]</ref> ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 มีการสำรวจนักอ่านกว่า 15,000 คนที่[[ประเทศออสเตรเลีย]] โดยร้าน Dymock ''สาวทรงเสน่ห์'' ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่หนึ่ง ใน 101 หนังสือยอดเยี่ยมตลอดกาล (ลอร์ดออฟเดอะริงส์ได้ที่สอง)<ref>[http://www.thewest.com.au/default.aspx?MenuID=182&ContentID=59459 "Aussie readers vote Pride and Prejudice best book"]. thewest.com.au.</ref>
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
<!-- * [http://www.gutenberg.org/etext/1342 ''สาวทรงเสน่ห์''] ที่โปรเจ็กต์กูเตนเบิร์ก -->
<!-- * [http://www.gutenberg.org/etext/1342 ''สาวทรงเสน่ห์''] ที่โปรเจ็กต์กูเตนเบิร์ก -->
* [http://site.girlebooks.com/xs.php?page=ebooks_detail&siteid=223&lang=en&table=user_girlebooks&idx=0&iddetail=86 ''สาวทรงเสน่ห์'' free downloads in PDF, PDB and LIT formats]
* [http://site.girlebooks.com/xs.php?page=ebooks_detail&siteid=223&lang=en&table=user_girlebooks&idx=0&iddetail=86 ''สาวทรงเสน่ห์'' free downloads in PDF, PDB and LIT formats]
* [http://www.prideandprejudicebroadway.com/index2.htm เว็บไซต์ละครเพลงเรื่อง ''สาวทรงเสน่ห์'' ของเจน ออสเตน]
* [http://www.prideandprejudicebroadway.com/index2.htm เว็บไซต์ละครเพลงเรื่อง ''สาวทรงเสน่ห์'' ของเจน ออสติน]
{{novelinyr|1813}}
{{novelinyr|1813}}


บรรทัด 60: บรรทัด 60:
[[หมวดหมู่:เรื่องรักใคร่]]
[[หมวดหมู่:เรื่องรักใคร่]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาอังกฤษ]]
[[หมวดหมู่:งานเขียนของเจน ออสเตน]]
[[หมวดหมู่:งานเขียนของเจน ออสติน]]
[[หมวดหมู่:นวนิยายอังกฤษดัดแปลงเป็นภาพยนตร์]]
[[หมวดหมู่:นวนิยายอังกฤษดัดแปลงเป็นภาพยนตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:22, 28 สิงหาคม 2562

สาวทรงเสน่ห์  
ผู้ประพันธ์เจน ออสติน
ชื่อเรื่องต้นฉบับPride and Prejudice
ผู้แปลจูเลียต
ประเทศอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
ประเภทนวนิยาย
สำนักพิมพ์สหราชอาณาจักร T. Egerton, Whitehall
ไทย หจก. บำรุงสาส์น
วันที่พิมพ์สหราชอาณาจักร 28 มกราคม ค.ศ. 1813
ไทย พ.ศ. 2493

สาวทรงเสน่ห์ (อังกฤษ: Pride and Prejudice) เป็นนวนิยายเชิงเรียลลิสติกเรื่องแรกๆ ของโลก ประพันธ์โดยเจน ออสติน สุภาพสตรีชาวอังกฤษ ตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1813 เป็นผลงานที่ตีพิมพ์เป็นเรื่องที่สองของเธอ แต่มีข้อมูลระบุว่างานเขียนชิ้นนี้เป็นงานประพันธ์ชิ้นแรกของเธอ โดยประพันธ์ขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1796-1797 ทว่าในยุคนั้นยังเป็นยุคของนิยายเชิงเพ้อฝัน (เรื่องของพระราชา ราชวงศ์ การสู้รบ และเกียรติยศของอัศวิน) ดังนั้นนวนิยายของเธอเรื่องนี้จึงถือว่าแหวกประเพณีการประพันธ์ในยุคเดียวกันอย่างมาก

สาวทรงเสน่ห์ เป็นชื่อหนังสือในฉบับแปลภาษาไทย โดยจูเลียต (นามปากกาของชนิด สายประดิษฐ์ ภริยาของศรีบูรพา) ตีพิมพ์ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 โดยสำนักพิมพ์บำรุงสาส์น

โครงเรื่อง

ประวัติการตีพิมพ์

หลังจากออสตินได้ตีพิมพ์นวนิยายเล่มแรกแล้ว เธอได้ขายลิขสิทธิ์เรื่อง สาวทรงเสน่ห์ ให้แก่ Thomas Egerton ในราคา 110 ปอนด์ Egerton ตีพิมพ์ สาวทรงเสน่ห์ ชุดแรกเป็นหนังสือปกแข็งสามเล่มในเดือนมกราคม ค.ศ. 1813[1] หนังสือได้รับคำวิจารณ์ค่อนข้างดี และขายหมดในเวลาอันรวดเร็ว ฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สองได้พิมพ์จำหน่ายต่อมาในเดือนพฤศจิกายนปีเดียวกัน และฉบับปรับปรุงเอดิชันที่สามตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1817[2]

นวนิยายได้แปลไปเป็นภาษาฝรั่งเศสทันทีในปี ค.ศ. 1813 หลังจากนั้นก็ได้แปลไปเป็นภาษาเยอรมัน เดนมาร์ก และสวีเดน[3] สาวทรงเสน่ห์ ได้พิมพ์จำหน่ายในสหรัฐอเมริกาครั้งแรกในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1832 ในชื่อเรื่องว่า เอลิซาเบธ เบนเน็ต[2]

สำหรับประเทศไทย จูเลียต หรือ ชนิด สายประดิษฐ์ ได้แปล สาวทรงเสน่ห์ เป็นภาษาไทยครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2493 ตีพิมพ์โดย หจก. บำรุงสาส์น ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 แพรวสำนักพิมพ์ได้นำฉบับแปลนี้มาพิมพ์ใหม่ในชุดวรรณกรรมคลาสสิก

การตอบรับ

นวนิยายได้รับการตอบรับค่อนข้างดี โดยมีบทวิจารณ์ในทางดีถึงสามฉบับภายในช่วงเดือนแรกหลังการวางจำหน่าย[4] เจน เฟอร์กัส บอกว่า "นี่เป็นนวนิยายของออสตินที่โด่งดังมาก ทั้งต่อสาธารณชนและคนใกล้ชิดของเธอเอง"[4] ในงานเขียนของเดวิด กิลสัน A Bibliography of Jane Austen เขาอ้างถึงคำกล่าวของแอนน์ อิซาเบลลา มิลแบงค์ (ภายหลังเป็นภริยาของลอร์ดไบรอน) ว่า สาวทรงเสน่ห์ เป็น "นวนิยายที่ทันสมัยมาก"

ปี ค.ศ. 1819 เฮนรี แครบบ์ โรบินสัน เอ่ยถึงนวนิยายเรื่องนี้ว่า "...เป็นหนึ่งในงานเขียนชั้นเลิศที่สุดของนักเขียนหญิง"[5] เซอร์วอลเตอร์ สก็อตต์ เขียนในบทความของเขาว่า "...เป็นนวนิยายที่คุณออสตินบรรจงเขียนอย่างละเมียดละไม... สุภาพสตรีเยาว์วัยผู้นี้มีพรสวรรค์ในการบรรยายความสัมพันธ์ ความรู้สึก และลักษณาภาพของชีวิตประจำวันธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สุดที่ผมเคยพบเห็น"[5] อย่างไรก็ดียังมีบางคนไม่เห็นด้วย เช่น ชาร์ล็อตต์ บรองเต ซึ่งเห็นว่า สาวทรงเสน่ห์ น่าผิดหวังมาก "...เป็นสวนสวย ล้อมรั้วอย่างประณีต ประดับดอกไม้งดงาม แต่...ปราศจากท้องทุ่งกว้าง ไร้อากาศบริสุทธิ์ ไม่มีเนินเขาสีฟ้า และไม่เชิญชวนเอาเสียเลย"[5]

ถึงกระนั้น สาวทรงเสน่ห์ ก็ติดอันดับหนังสือยอดนิยมในการสำรวจต่างๆ ของอังกฤษอยู่เสมอ ในปี ค.ศ. 2003 สถานีโทรทัศน์บีบีซีจัดการสำรวจครั้งใหญ่เพื่อค้นหา "หนังสือในดวงใจ" ของชาวอังกฤษ สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่สองรองจาก ลอร์ดออฟเดอะริงส์[6] ปี ค.ศ. 2004 สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับสองในการสำรวจหนังสือยอดนิยมของชาวออสเตรเลีย รองจากลอร์ดออฟเดอะริงส์เช่นกัน[7] ต่อมาในปี ค.ศ. 2008 มีการสำรวจนักอ่านกว่า 15,000 คนที่ประเทศออสเตรเลีย โดยร้าน Dymock สาวทรงเสน่ห์ ได้รับการโหวตเป็นอันดับที่หนึ่ง ใน 101 หนังสือยอดเยี่ยมตลอดกาล (ลอร์ดออฟเดอะริงส์ได้ที่สอง)[8]

อ้างอิง

  1. Le Faye, Deidre (2002). Jane Austen: The World of Her Novels. นิวยอร์ก: Harry N. Abrams. ISBN 0-8109-3285-7.
  2. 2.0 2.1 Stafford, Fiona (2004). "Notes on the Text", Pride and Prejudice, Oxford World's Classics (ed. James Kinley). Oxford: Oxford University Press. ISBN 0-19-280238-0.
  3. Valérie Cossy and Diego Saglia. "Translations". Jane Austen in Context. Ed. Janet Todd. Cambridge: Cambridge University Press, 2005. ISBN 0-521-82644-6.
  4. 4.0 4.1 Fergus, Jan (1997). "The professional woman writer", in E Copeland & J McMaster: The Cambridge Companion to Jane Austen. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. ISBN 0-521-49867-8.
  5. 5.0 5.1 5.2 Southam, B. C. (ed) (1995). Jane Austen: The Critical Heritage 1. New York: Routledge. ISBN 978-0-415-13456-9.
  6. "BBC - The Big Read - Top 100 Books" (พฤษภาคม 2003).
  7. Australia's Favourite Books The Top 50
  8. "Aussie readers vote Pride and Prejudice best book". thewest.com.au.

แหล่งข้อมูลอื่น