ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เยอ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Teeraphanku (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== ภาษา ==
== ภาษา ==
[[ภาษาเยอ]] เป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ส่วนมากทุกๆคำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา)ในประโยคบอกเล่า แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา
[[ภาษาเยอ]] คาดว่าได้รับภาษามาจากชาวกูยที่เป็นเจ้าของภาษาที่อพยบมาจากอินเดีย เมื่อหลายพันปีที่เเล้ว เเละเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ส่วนมากทุกๆคำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา)ในประโยคบอกเล่า เหมือนภาษาตระกูลไทกะได แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา

ส่วนภาษากูยจะไม่มี (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) เเละเป็นภาษา '''ตระกูลภาษา'''ออสโตรเอเชียติก

ส่วนภาษาเยอ จะรวมภาษา '''ตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก''' กับ '''ตระกูลภาษา ตระกูลไทกะได'''

ผสมกันจาก '''ตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก จะไม่มี (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) ใส่ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) ซึ่งเป็นของ ตระกูลภาษา ตระกูลไทกะได'''


ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหม่ เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใจ(หัวใจ) [[ภาษาอีสาน]]บ้าง และภาษาที่เรียกสิ่งของที่ไม่เคยมีมาในสมัยโบราณ
ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหม่ เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใจ(หัวใจ) [[ภาษาอีสาน]]บ้าง และภาษาที่เรียกสิ่งของที่ไม่เคยมีมาในสมัยโบราณ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:11, 25 สิงหาคม 2562

เยอ หรือเผ่าเยอ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก ประเทศจีนตอนบน ซึ่งไม่ทราบแน่ชัดว่าย้ายมาก่อน หรือหลังสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งคนเผ่าเยอ ย้ายมาถึงจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งถิ่นฐานอยู่ใน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

ต่อมาเกิดโรคระบาดจึงได้ได้แบ่งออกเป็นหลาย 4 กลุ่ม ย้ายถิ่นที่อยู่ใหม่ กลุ่มแรก เดินทางไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองปราสาทเยอ ซึ่งในปัจจุบัน คือบ้านปราสาทเยอ ตั้งอยู่ใน อำเภอไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มที่ 2 ได้ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใน อำเภออุทุมพรพิสัย และอำเภอห้วยทับทัน ส่วนกลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 อาศัยอยู่ใน อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน ชื่อหมู่บ้านว่า บ้านขมิ้น อยู่ใน ตำบลทุ่ม อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ และบ้านโพนค้อ ตำบลโพนค้อ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ

ภาษา

ภาษาเยอ คาดว่าได้รับภาษามาจากชาวกูยที่เป็นเจ้าของภาษาที่อพยบมาจากอินเดีย เมื่อหลายพันปีที่เเล้ว เเละเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ส่วนมากทุกๆคำจะพูดกันเป็นเสียง สามัญ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา)ในประโยคบอกเล่า เหมือนภาษาตระกูลไทกะได แต่ในประโยคคำถาม พยางค์สุดท้ายจะเป็นเสียง ตรี หรือ จัตวา

ส่วนภาษากูยจะไม่มี (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) เเละเป็นภาษา ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ส่วนภาษาเยอ จะรวมภาษา ตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก กับ ตระกูลภาษา ตระกูลไทกะได

ผสมกันจาก ตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก จะไม่มี (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) ใส่ (สามัญ เอก โท ตรี จัตวา) ซึ่งเป็นของ ตระกูลภาษา ตระกูลไทกะได

ในปัจจุบัน ภาษาเยอได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และกลายเป็นภาษาเยอสมัยใหม่ เช่น จะมีบางคำที่เป็นภาษาไทยบ้างเช่น ฮัวใจ(หัวใจ) ภาษาอีสานบ้าง และภาษาที่เรียกสิ่งของที่ไม่เคยมีมาในสมัยโบราณ

วัฒนธรรม

การแต่งตัวของชาวเผ่าเยอ ในดั้งเดิม ผู้ชายใส่เชิ้ตไม่มีคอปก สีกรมท่า กางเกงขายาว สีกรมท่า และมีผ้าขาวม้ามัดเอว ผู้หญิง ใส่เสื้อสีดำเทา ใส่ผ้าไหม(ผ้าถง)สีดำ และสีกรมท่า หรือสีอื่นๆ และมีผ้าไหมพาดผ่านไหล่ซ้ายลงไปบรรจบกัน บริเวร เอวด้านขวา คนเผ่าเยอแท้ทุกคน จะมีสีผิวเหลืองขาว เหมือนจีน

คนเผ่าเยอชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่มๆ เห็นได้จากการปลูกบ้านเป็นกลุ่ม ลักษณะของบ้าน จะเป็นบ้านสองชั้น ใต้ถุนโล่งเพื่อใช้เลี้ยงควาย หรือวัว หลังคาจะทำจากฟางข้าว ผนังหรือกั้นห้อง จะเป็นไม้ใผ่สาน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีให้เห็นแล้ว ส่วนเสาและพื้นบ้าน จะเป็นไม้เนื้อแข็งทั่วไป

ประเพณี

ประเพณีและวัฒนธรรมของเผ่าเยอ ได้แก่

  • บุญข้าวสาก เป็นประเภณีที่มีขึ้นหลังจากการดำนาเสร็จสิ้น ประมาณเดือน สิงหาคม
  • บุญข้าวจี่ มีขึ้นหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จ ประมาณเดือนช่วงวันเพ็ญเดือน 3 เป็นวันมาฆบูชา รุ่งขึ้นวันแรม 1 ค่ำ

นอกจากนี้ยังมีประเพณีอื่นๆ ซึ่ได้รับอิทธิพลจากประเพณีของชาวพื้นถิ่นรอบๆนั้น รวมไปถึง วัฒนธรรมไทยเกือบทั้งหมด

ศาสนา

คนในเผ่าเยอ นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก และมีความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูบ้าง เช่น การบายศรีสู่ขวัญ การขึ้นบ้านใหม่ การแต่งงาน และอื่นๆ อาจมีบางครอบครัว นับถือผีบ้านหรือผีบรรพบุรุษ และจะมีการรำแถน(รำผีฟ้า) เพื่อบวงศรวง เชื่อกันว่า จะทำให้ลูกหลานอยู่ดีไม่มีโรคเบียดเบียน

สังเกตจากเรื่องอาถรรพณ์ที่ไม่น่าเชื่อ บางคนป่วยโดยไม่รู้สาเหตุ พาไปหาหมอที่โรงพยาบาล ก็ตรวจไม่พบว่าเป็นโรคอะไรทั้งนั้น คนๆนั้น สบายดีตอนหาหมอ แต่พอตอนอยู่ที่บ้าน กลับป่วยทรุดหนัก ว่ากันว่าบรรพบุรษเป็นผู้กระทำ จึงทำให้มีการรำแถน เพื่อบวงศรวง คนป่วยคนนั้นก็หายวันหายคืน

ผู้ชายที่บวชและสึกออกมาจากบวชเณร จะเรียกนำหน้าชื่อว่า เซียง และผู้ที่สึกออกมาจากบวชพระ จะเรียกนำหน้าชื่อว่า ญีมอม(ทิศ)