ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


== พระโอรส-ธิดา ==
== พระโอรส-ธิดา ==
# หม่อมเจ้าหญิงวารี <ref name="พระอนุวงศ์ฯ"/>
# หม่อมเจ้าหญิงวารี สนิทวงศ์<ref name="พระอนุวงศ์ฯ"/>
# หม่อมเจ้าหญิงบัว
# หม่อมเจ้าหญิงบัว สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงเม้า
# หม่อมเจ้าหญิงเม้า สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายเทโพ
# หม่อมเจ้าชายเทโพ สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายจำรัส สนิทวงศ์ มีโอรส คือ หม่อมราชวงศ์เฟี้ยน สนิทวงศ์ ผู้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยานุจุลจอมเกล้าสืบราชสกุล
# หม่อมเจ้าชายจำรัส
# หม่อมเจ้าชายเจริญ (หม่อมเจ้าชายดำ) (พ.ศ. 2377 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2427)
# หม่อมเจ้าชายเจริญ สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายดำ (ประสูติ พ.ศ. 2377 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2427)
# หม่อมเจ้าหญิงอรุณ
# หม่อมเจ้าหญิงอรุณ สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงลูกจัน
# หม่อมเจ้าหญิงลูกจัน สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิง
# หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
# หม่อมเจ้าหญิง
# หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
# หม่อมเจ้าชายเสือ (พ.ศ. 2388 -?)
# หม่อมเจ้าชายเสือ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2388)
# หม่อมเจ้าหญิงลูกอิน
# หม่อมเจ้าหญิงลูกอิน สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2439)
# หม่อมเจ้าชายเผือก (หม่อมเจ้าชายหนูขาวเผือก)
# หม่อมเจ้าชายเผือก สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายหนูขาวเผือก
# หม่อมเจ้าชายนุช
# หม่อมเจ้าชายนุช สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิง
# หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
# หม่อมเจ้าชายท้วม
# หม่อมเจ้าชายท้วม สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายสาย ([[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์]]) (25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 - 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เสกสมรสกับ หม่อมเขียน ศศิสมิต
# หม่อมเจ้าชายสาย สนิทวงศ์ ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์]] (ประสูติเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 สิ้นพระชนม์ 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เสกสมรสกับ หม่อมเขียน ศศิสมิต
# หม่อมเจ้าชายสวาสดิ์ (? - 15 เมษายน พ.ศ. 2443) เสกสมรสกับหม่อมพลอย
# หม่อมเจ้าชายสวาสดิ์ สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2443 พระราชทานเพลิง ณ วัดราชสิทธาราม) เสกสมรสกับหม่อมพลอย
# หม่อมเจ้าหญิงสนิท (หม่อมเจ้าหญิงสนิทถนอม) (พ.ศ. 2390 - 15 สิงหาคม พ.ศ. 2472) เสกสมรสกับ [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์]]
# หม่อมเจ้าหญิงสนิท สนิทวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าหญิงสนิทถนอม (ประสูติ พ.ศ. 2390 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2472) เสกสมรสกับ [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์]]
# หม่อมเจ้าหญิงเกษร (? - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452)
# หม่อมเจ้าหญิงเกษร สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 พระราชทานเพลิง ณ วัดบรมนิวาส เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2456)
# หม่อมเจ้าหญิงงาม (? - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2449)
# หม่อมเจ้าหญิงงาม สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2449 พระราชทานเพลิง ณ วัดอนงคาราม เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2456)
# หม่อมเจ้าหญิงกระจ่าง (พ.ศ. 2391 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2475)
# หม่อมเจ้าหญิงกระจ่าง สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2391 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
# หม่อมเจ้าหญิงกระลำภัก (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2468)
# หม่อมเจ้าหญิงกระลำภัก สนิทวงศ์ (ประสูติเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2468 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2469)
# หม่อมเจ้าหญิงผอบ (พ.ศ. 2402 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2463)
# หม่อมเจ้าหญิงผอบ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2463 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ พ.ศ.2469)
# หม่อมเจ้าหญิงเชย (หม่อมเจ้าหญิงอบเชย) (พ.ศ. 2402 - 28 เมษายน พ.ศ. 2467)
# หม่อมเจ้าหญิงเชย สนิทวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าหญิงอบเชย (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัย 28 เมษายน พ.ศ. 2467 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
# หม่อมเจ้าหญิงชม (พ.ศ. 2402 - ?)
# หม่อมเจ้าหญิงชม สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402)
# หม่อมเจ้าหญิงชื่น (พ.ศ. 2402 - 10 เมษายน พ.ศ. 2439)
# หม่อมเจ้าหญิงชื่น สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2439 พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม)
# หม่อมเจ้าหญิงอำพัน (พ.ศ. 2403 - 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2437)
# หม่อมเจ้าหญิงอำพัน (ประสูติ พ.ศ. 2403 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 พระราชทานเพลิง ณ วัดอินทาราม เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2438)
# หม่อมเจ้าชายเจ้ง (หม่อมเจ้าชายเจง)
# หม่อมเจ้าชายเจ้ง สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายเจง (พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ พ.ศ.2406)
# หม่อมเจ้าหญิง
# หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม พ.ศ.2406)
# หม่อมเจ้าชายเกด (พ.ศ. 2407 - 9 กันยายน พ.ศ. 2432)
# หม่อมเจ้าชายเกด สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2407 สิ้นชีพิตักษัย 9 กันยายน พ.ศ. 2432)
# หม่อมเจ้าชายสะอาด
# หม่อมเจ้าชายสะอาด สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม พ.ศ.2408)
# หม่อมเจ้าชายพร้อม ([[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช]]) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2411 - 20 กันยายน พ.ศ. 2482) เสกสมรสกับ หม่อมสะอาด กับหม่อมอีก 8 คน
# หม่อมเจ้าชายพร้อม สนิทวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช]] (ประสูติเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2411 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2482 พระราชทานเพลิง ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2482) เสกสมรสกับ หม่อมสะอาด กับหม่อมอีก 8 คน
# หม่อมเจ้าชายเปียก
# หม่อมเจ้าชายเปียก สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายประวัติวงษ์ (พ.ศ. 2412 - 14 ตุลาคม พ.ศ. 2452)
# หม่อมเจ้าชายประวัติวงษ์ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2412 สิ้นชีพิตักษัย 14 ตุลาคม พ.ศ. 2452 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2454)
# หม่อมเจ้าชายเล็ก (พ.ศ. 2413 - 28 กันยายน พ.ศ. 2445)
# หม่อมเจ้าชายเล็ก สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2413 สิ้นชีพิตักษัย 28 กันยายน พ.ศ. 2445 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
# หม่อมเจ้าชายตุ้ม ([[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช]]) (12 ธันวาคม พ.ศ. 2412 - 14 กันยายน พ.ศ. 2481)
# หม่อมเจ้าชายตุ้ม สนิทวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช]] (ประสูติเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2412 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2481)
# หม่อมเจ้าชายแฉ่ง
# หม่อมเจ้าชายแฉ่ง สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2428)
# หม่อมเจ้าชายรัสมี (? - 12 มกราคม พ.ศ. 2439)
# หม่อมเจ้าชายรัสมี สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2439)
# หม่อมเจ้าหญิงแพ
# หม่อมเจ้าหญิงแพ สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงสารภี ([[หม่อมเจ้าสารภี ชุมสาย]]) เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย]] พระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม]]
# หม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์ หรือ [[หม่อมเจ้าสารภี ชุมสาย]] เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย]] พระโอรสใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม]]
# หม่อมเจ้าหญิงชมนาท (? - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2448)
# หม่อมเจ้าหญิงชมนาท สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 พระราชทานเพลิง ณ วัดกัลยาณมิตร)
# หม่อมเจ้าหญิงทองคำ
# หม่อมเจ้าหญิงทองคำ สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงละม้าย
# หม่อมเจ้าหญิงละม้าย สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงจันฑณเทศ
# หม่อมเจ้าหญิงจันฑณเทศ สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดวงษมูลวิหาร เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2432)
# หม่อมเจ้าหญิงกฤษณา
# หม่อมเจ้าหญิงกฤษณา สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงถนอม
# หม่อมเจ้าหญิงถนอม สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายจิ๋ว
# หม่อมเจ้าชายจิ๋ว สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2431)
# หม่อมเจ้าหญิงประภา
# หม่อมเจ้าหญิงประภา สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงประทุม
# หม่อมเจ้าหญิงประทุม สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าชายเปลี่ยน
# หม่อมเจ้าชายเปลี่ยน สนิทวงศ์
# หม่อมเจ้าหญิงกลาง
# หม่อมเจ้าหญิงกลาง สนิทวงศ์


== ราชตระกูล ==
== ราชตระกูล ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:39, 22 สิงหาคม 2562

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
ไฟล์:กรมหลวงวงศาธิราชสนิท.jpg
ประสูติ9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351
สิ้นพระชนม์14 สิงหาคม พ.ศ. 2414
พระบุตร52 พระองค์
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระมารดาเจ้าจอมมารดาปรางใหญ่

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชบุตรลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย[1] ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ประวัติ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายนวม [note 1] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่ พระสนมเอก ธิดาท่านขรัวยายทองอิน เมื่อวันเสาร์ เดือน 8 แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง สัมฤทธิศก จ.ศ. 1170 ตรงกับวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351[2] ทรงได้รับการศึกษาเบื้องต้นตามแบบฉบับของราชสำนักและผนวชเป็นสามเณร ได้รับการศึกษาในสำนักสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านอักษรศาสตร์ ทั้งอักขรวิธีภาษาไทย อักษรเขมร และภาษาบาลี รวมทั้งวรรณคดี วิชาโบราณคดีและราชประเพณี[3]

ต่อมาทรงเข้ารับราชการในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกำกับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวิชาการแพทย์สมัยใหม่จากมิชชันนารีชาวอเมริกัน [2] โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นกรมหมื่นวงศาสนิท[4] เมื่อครั้นปี พ.ศ. 2392 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชปรารภ ถึงความเสื่อมโทรมของภาษาไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้านวม ทรงแต่งตำราภาษาไทยขึ้นใหม่ เพื่ออนุรักษ์ภาษาไทย พระนิพนธ์เรื่อง “จินดามณี เล่ม 2” ซึ่งทรงดัดแปลงจากตำราเดิมสมัยอยุธยา อธิบายหลักเกณฑ์ภาษาไทยให้เข้าใจง่ายกว่าเดิม[3] ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ เลื่อนขึ้นเป็นกรมหลวงวงศาธิราชสนิท ทรงกำกับราชการมหาดไทย ว่าพระคลังสินค้า และเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ทรงเป็นเจ้านายหนึ่งในสี่พระองค์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหมายจะให้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระองค์[2]

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท สิ้นพระชนม์ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อวันพุธ เดือน 10 ขึ้น 6 ค่ำ ปีมะเมียโทศก ตรงกับวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414 สิริพระชันษา 63 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2414[5]

ในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอพระนาม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ในโครงการเฉลิมฉลองบุคคลสำคัญและเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของ ยูเนสโก ด้านปราชญ์และกวี ประจำปี 2551-2552 ในวาระครบรอบ 200 ปีของการประสูติ องค์การยูเนสโกได้มีมติรับรองในการประชุมเมื่อวันที่ 18-23 ตุลาคม 2550 ที่กรุงปารีส [6]

พระโอรส-ธิดา

  1. หม่อมเจ้าหญิงวารี สนิทวงศ์[5]
  2. หม่อมเจ้าหญิงบัว สนิทวงศ์
  3. หม่อมเจ้าหญิงเม้า สนิทวงศ์
  4. หม่อมเจ้าชายเทโพ สนิทวงศ์
  5. หม่อมเจ้าชายจำรัส สนิทวงศ์ มีโอรส คือ หม่อมราชวงศ์เฟี้ยน สนิทวงศ์ ผู้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยานุจุลจอมเกล้าสืบราชสกุล
  6. หม่อมเจ้าชายเจริญ สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายดำ (ประสูติ พ.ศ. 2377 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2427)
  7. หม่อมเจ้าหญิงอรุณ สนิทวงศ์
  8. หม่อมเจ้าหญิงลูกจัน สนิทวงศ์
  9. หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
  10. หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
  11. หม่อมเจ้าชายเสือ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2388)
  12. หม่อมเจ้าหญิงลูกอิน สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2439)
  13. หม่อมเจ้าชายเผือก สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายหนูขาวเผือก
  14. หม่อมเจ้าชายนุช สนิทวงศ์
  15. หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม
  16. หม่อมเจ้าชายท้วม สนิทวงศ์
  17. หม่อมเจ้าชายสาย สนิทวงศ์ ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ (ประสูติเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2388 สิ้นพระชนม์ 13 กันยายน พ.ศ. 2455) เสกสมรสกับ หม่อมเขียน ศศิสมิต
  18. หม่อมเจ้าชายสวาสดิ์ สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2443 พระราชทานเพลิง ณ วัดราชสิทธาราม) เสกสมรสกับหม่อมพลอย
  19. หม่อมเจ้าหญิงสนิท สนิทวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าหญิงสนิทถนอม (ประสูติ พ.ศ. 2390 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2472) เสกสมรสกับ พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประเสริฐศักดิ์
  20. หม่อมเจ้าหญิงเกษร สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2452 พระราชทานเพลิง ณ วัดบรมนิวาส เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2456)
  21. หม่อมเจ้าหญิงงาม สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2449 พระราชทานเพลิง ณ วัดอนงคาราม เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2456)
  22. หม่อมเจ้าหญิงกระจ่าง สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2391 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
  23. หม่อมเจ้าหญิงกระลำภัก สนิทวงศ์ (ประสูติเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2400 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2468 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2469)
  24. หม่อมเจ้าหญิงผอบ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2463 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ พ.ศ.2469)
  25. หม่อมเจ้าหญิงเชย สนิทวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าหญิงอบเชย (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัย 28 เมษายน พ.ศ. 2467 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
  26. หม่อมเจ้าหญิงชม สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402)
  27. หม่อมเจ้าหญิงชื่น สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2402 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2439 พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม)
  28. หม่อมเจ้าหญิงอำพัน (ประสูติ พ.ศ. 2403 สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2437 พระราชทานเพลิง ณ วัดอินทาราม เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2438)
  29. หม่อมเจ้าชายเจ้ง สนิทวงศ์ บางแห่งว่าชื่อหม่อมเจ้าชายเจง (พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ พ.ศ.2406)
  30. หม่อมเจ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม พ.ศ.2406)
  31. หม่อมเจ้าชายเกด สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2407 สิ้นชีพิตักษัย 9 กันยายน พ.ศ. 2432)
  32. หม่อมเจ้าชายสะอาด สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม พ.ศ.2408)
  33. หม่อมเจ้าชายพร้อม สนิทวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพร้อมพงศ์อธิราช (ประสูติเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2411 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2482 พระราชทานเพลิง ณ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2482) เสกสมรสกับ หม่อมสะอาด กับหม่อมอีก 8 คน
  34. หม่อมเจ้าชายเปียก สนิทวงศ์
  35. หม่อมเจ้าชายประวัติวงษ์ สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2412 สิ้นชีพิตักษัย 14 ตุลาคม พ.ศ. 2452 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2454)
  36. หม่อมเจ้าชายเล็ก สนิทวงศ์ (ประสูติ พ.ศ. 2413 สิ้นชีพิตักษัย 28 กันยายน พ.ศ. 2445 พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ)
  37. หม่อมเจ้าชายตุ้ม สนิทวงศ์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสนิทพงศ์พัฒนเดช (ประสูติเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2412 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2481)
  38. หม่อมเจ้าชายแฉ่ง สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดสระเกศ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2428)
  39. หม่อมเจ้าชายรัสมี สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2439)
  40. หม่อมเจ้าหญิงแพ สนิทวงศ์
  41. หม่อมเจ้าหญิงสารภี สนิทวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าสารภี ชุมสาย เสกสมรสกับหม่อมเจ้าประวิช ชุมสาย พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม
  42. หม่อมเจ้าหญิงชมนาท สนิทวงศ์ (สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 พระราชทานเพลิง ณ วัดกัลยาณมิตร)
  43. หม่อมเจ้าหญิงทองคำ สนิทวงศ์
  44. หม่อมเจ้าหญิงละม้าย สนิทวงศ์
  45. หม่อมเจ้าหญิงจันฑณเทศ สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดวงษมูลวิหาร เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2432)
  46. หม่อมเจ้าหญิงกฤษณา สนิทวงศ์
  47. หม่อมเจ้าหญิงถนอม สนิทวงศ์
  48. หม่อมเจ้าชายจิ๋ว สนิทวงศ์ (พระราชทานเพลิง ณ วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2431)
  49. หม่อมเจ้าหญิงประภา สนิทวงศ์
  50. หม่อมเจ้าหญิงประทุม สนิทวงศ์
  51. หม่อมเจ้าชายเปลี่ยน สนิทวงศ์
  52. หม่อมเจ้าหญิงกลาง สนิทวงศ์

ราชตระกูล

พระราชตระกูลในสามรุ่นของ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท
พระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
พระอัครชายา (หยก)
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
พระชนกทอง
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
พระชนนีสั้น
พระชนนี:
เจ้าจอมมารดาปรางใหญ่
พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านบุญเกิด
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านทองอิน
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ท่านตาดี (ราชินีกุล ณ บางช้าง)
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล

เชิงอรรถ

  1. สันนิษฐานว่า พระนามมาจากคำว่า นวม (อ่านว่า นะวะมะ) ซึ่งมีความหมายว่า "ที่ ๙"

อ้างอิง

  1. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. ราชสกุลวงศ์. พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2554. 296 หน้า. หน้า 30. ISBN 978-974-417-594-6
  2. 2.0 2.1 2.2 กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ "วังหลวง". กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พิมพ์ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2549. 304 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-941-205-2
  3. 3.0 3.1 จัดงาน200ปีกรมหลวงวงษาธิราชสนิท dailynews.co.th
  4. กรมหลวงวงศาธิราชสนิท โดย จุลลดา ภักดีภูมินทร์ นิตยสารสกุลไทย ฉบับที่ 2638 ปีที่ 51 วันที่ 10 พฤษภาคม 2548
  5. 5.0 5.1 ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  6. ยูเนสโกยกย่องต้นราชสกุล สนิทวงศ์ เดลินิวส์ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550