ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
8.หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิธาดา วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิภาพธาดา วิไลยวงศ์
8.หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิธาดา วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิภาพธาดา วิไลยวงศ์


== พระอิสริยยศ ==
== พระเกียรติยศ ==
=== พระอิสริยยศ ===
* พระบวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (24 มีนาคม พ.ศ. 2411 — 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454)<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. [http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=3023 พระเจ้าวรวงศ์เธอ (ตอนที่ ๑) (๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒)]. เรียกดูเมื่อ 13 เมษายน 2556</ref>
* พระบวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (24 มีนาคม พ.ศ. 2411 — 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454)<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. [http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=3023 พระเจ้าวรวงศ์เธอ (ตอนที่ ๑) (๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒)]. เรียกดูเมื่อ 13 เมษายน 2556</ref>
* พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 เป็นต้นไป)
* พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 เป็นต้นไป)

=== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ===
{{ท.จ.ฝ่ายหน้า}}<ref name="บาญชี">{{อ้างหนังสือ|| ผู้แต่ง = โรงเรียนมหาดเล็ก || ชื่อหนังสือ = บาญชีพระบรมวงษานุวงษ์ฝ่ายน่าฝ่ายใน ศก 128 || URL = || จังหวัด = กรุงเทพ|| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์สามมิตร|| ปี = พ.ศ. 2452|| ISBN = || หน้า = 7|| จำนวนหน้า = 70}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:32, 21 สิงหาคม 2562

พระราชวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส
พระราชวรวงศ์เธอ
ประสูติ24 มีนาคม พ.ศ. 2411
สิ้นพระชนม์17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 (61 ปี)
ราชวงศ์จักรี
พระราชบิดากรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
พระมารดาจอมมารดาสมบุญ

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส บ้างเรียกว่า พระองค์ชายใหญ่[1] (24 มีนาคม พ.ศ. 2411 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาเข็ม

พระประวัติ

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส ประสูติเมื่อวันพุธที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2411[1] เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาเข็ม

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทรงพระราชทาน "วังใหม่" ซึ่งเคยเป็นที่ประทับของพระองค์เองบริเวณริมคลองคูเมืองเดิมฝากเหนือแก่พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส โดยทรงพระราชทานครึ่งหนึ่งให้พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส และอีกครึ่งหนึ่งพระราชทานพระองค์เจ้าไชยรัตนวโรภาส ทรงประทับอยู่ที่วังนี้จนทางราชการจัดซื้อสร้างเป็นโรงพยาบาลทหาร (ปัจจุบันเป็นโรงเรียนข่าวทหารบก)[2]

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส สิ้นพระชนม์ด้วนพระโรคชรา เมื่อวันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. พระชันษา 60 ปี พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุวัดเบญจมบพิตร วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2473[1]

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส ทรงเป็นต้นราชสกุลวิไลยวงศ์ มีพระโอรสและพระธิดา 8 องค์

1.หม่อมเจ้าหญิงพิมพ์พักตร์พิไลย วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าหญิงพิมพ์ภักตรพิลัย วิไลยวงศ์

2.หม่อมเจ้าอุทัยพัฒนพงศ์ วิไลยวงศ์

3.หม่อมเจ้าวรนาถรวิไลยวงศ์ วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าวรนาตวิไลยวงศ์ วิไลยวงศ์

4.หม่อมเจ้าวรวงศ์พิสิษฐ์ วิไลยวงศ์

5.หม่อมเจ้าหญิงเล็ก วิไลยวงศ์

6.หม่อมเจ้าอรทิศจรูญ วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าอรอุทิศจรูญ วิไลยวงศ์

7.หม่อมเจ้าหญิงเกียรติวงศ์วิลาศ วิไลยวงศ์

8.หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิธาดา วิไลยวงศ์ หรือ หม่อมเจ้าเกตุทัตวุฒิภาพธาดา วิไลยวงศ์

พระเกียรติยศ

พระอิสริยยศ

  • พระบวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (24 มีนาคม พ.ศ. 2411 — 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454)[3]
  • พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิไลยวรวิลาส (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 เป็นต้นไป)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 กรมศิลปากร. สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ (2554). ราชสกุลวงศ์ (PDF). กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. p. 138.
  2. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. ตำนานวังเก่า. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว, พ.ศ. 2553. 178 หน้า. หน้า 126. ISBN 978-616-508-214-3
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. พระเจ้าวรวงศ์เธอ (ตอนที่ ๑) (๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒). เรียกดูเมื่อ 13 เมษายน 2556
  4. โรงเรียนมหาดเล็ก. บาญชีพระบรมวงษานุวงษ์ฝ่ายน่าฝ่ายใน ศก 128. กรุงเทพ : โรงพิมพ์สามมิตร, พ.ศ. 2452. 70 หน้า. หน้า 7.