ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประตูกั้นชานชาลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somkidlanna (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ไทย: เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Somkidlanna (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
=== ไทย ===
=== ไทย ===
* {{colorbox|Blue}} [[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]]
* {{colorbox|Blue}} [[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]]
* {{colorbox|#65B724}} [[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท]] และ {{colorbox|#175A0C}} [[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]] ติดตั้งที่ [[สถานีสยาม]] เป็นสถานีแรก และได้ทำการติดตั้งในอีก 17 สถานี คือ ศาลาแดง ช่องนนทรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พญาไท ชิดลม อโศก พร้อมพงษ์ อ่อนนุช<ref>https://www.voicetv.co.th/read/500812}}</ref> สำโรง ปู่เจ้า ช้างเอราวัณ โรงเรียนนายเรือ ปากน้ำ ศรีนครินทร์ แพรกษา สายลวด เคหะฯ ห้าแยกลาดพร้าว
* {{colorbox|#65B724}} [[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท]] และ {{colorbox|#175A0C}} [[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]] ติดตั้งที่ [[สถานีสยาม]] เป็นสถานีแรก และได้ทำการติดตั้งในอีก 18 สถานี คือ ศาลาแดง ช่องนนทรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พญาไท ชิดลม อโศก พร้อมพงษ์ อ่อนนุช<ref>https://www.voicetv.co.th/read/500812}}</ref> สำโรง ปู่เจ้า ช้างเอราวัณ โรงเรียนนายเรือ ปากน้ำ ศรีนครินทร์ แพรกษา สายลวด เคหะฯ ห้าแยกลาดพร้าว


* {{colorbox|#761F21}} [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]: [[สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง]] และ [[สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]
* {{colorbox|#761F21}} [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]: [[สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง]] และ [[สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:45, 20 สิงหาคม 2562

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโตรอนโต
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน

ประตูกั้นชานชาลา (อังกฤษ: Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ซึ่งเปิดในปี ค.ศ. 1961

ประเภทของประตูกั้นชานชาลา

  1. แบบเต็มความสูง มีความสูงเท่ากับขบวนรถไฟฟ้า
  2. แบบครึ่งความสูง มีความสูงเป็นครึ่งหนึงของขบวนรถไฟฟ้า

ประโยชน์

ประโยชน์หลักของประตูกั้นชานชาลา ได้แก่

  • ป้องกันไม่ให้อากาศเย็นภายในสถานีรถไฟฟ้า ลอยออกไปยังอุโมงค์ทางวิ่งของรถไฟฟ้า เพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน[1]
  • ป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารตกไปยังรางรถไฟฟ้า[1]

การใช้งาน

ไทย

บราซิล

แคนาดา

จีน

เดนมาร์ก

ฟินแลนด์

ฝรั่งเศส

อินเดีย

อิตาลี

ญี่ปุ่น

โตเกียวเมโทร ติดตั้งประตูกั้นชานชาลาในปี ค.ศ. 1991 พร้อมกับเปิดเส้นทางสายนัมโบะกุ

มาเลเซีย

ติดตั้งในสถานีรถไฟใต้ดินในสายเกอลานาจายา ทุกสถานี

เกาหลีใต้

ติดตั้งในรถไฟใต้ดินโซล สาย 2 ที่ สถานียงดู เป็นสถานีแรก ปัจจุบันกำลังติดตั้งให้เสร็จภายใน ค.ศ. 2018[9]

อุบัติเหตุ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ประตูกั้นชานชาลา (Platform Screen Door)
  2. https://www.voicetv.co.th/read/500812}}
  3. [1], São Paulo Metro Official website
  4. 4.0 4.1 TTC plans suicide barriers on Yonge line
  5. "WPSD Platform Screen Door System - Case Study". Platformscreendoors.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 26, 2008. สืบค้นเมื่อ 2009-08-01.
  6. "Vuosaari platform doors introduced on 15 February". HKL. 2012-02-17. สืบค้นเมื่อ 2012-03-20.
  7. "Media Kit - Airport Express". Reliance Airport Express Metro. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
  8. "Metro to get platform screen doors". Times of India. Jan 5, 2011. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
  9. 잇단 투신에도…국철 스크린도어 설치는 '서행' Hankooki.com (in Korean)

แหล่งข้อมูลอื่น