ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Minkeyblue080219 (คุย | ส่วนร่วม)
ทำหน้าว่าง
ป้ายระบุ: ทำหน้าว่าง
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8316431 โดย NP-chaonayด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/แท็บส่วนหัว|หน้านี้=2}}

<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
{{TOCright}}

การแก้ไขหน้าวิกิพีเดียส่วนใหญ่ไม่ยาก วิกิพีเดียใช้วิธีการแก้ไขสองวิธี การแก้ไขคลาสสิกผ่าน[[วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ|การจัดรูปแบบวิกิ]] (ข้อความวิกิ) และผ่าน[[วิกิพีเดีย:วิชวลเอดิเตอร์|วิชวลเอดิเตอร์]] (VisualEditor) มาใหม่

หากต้องการฝึกแก้ไข ให้ไป'''[[วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน|หน้าทดลองเขียน]]''' แล้วคลิกแถบ ''แก้ไข'' จะมีการแสดงหน้าต่างแก้ไขที่มีข้อความสำหรับหน้านั้น ลองพิมพ์ดู หรือเปลี่ยนแปลงข้อความที่คุณจะได้พบในหน้านั้น แล้วคลิก {{button|เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง}} และดูว่าผลลัพธ์ออกมาอย่างไร

== แถบแก้ไข ==

[[ไฟล์:Edit-this-page-large-th.png|300px|thumb|left|กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ]]

เลือกการจัดรูปแบบวิกิโดยคลิกแถบ <em>แก้ไข</em> ที่อยู่บนสุดของหน้าวิกิพีเดีย (หรือลิงก์แก้ไขส่วน) จะพาคุณเข้าหน้าใหม่ที่มีเนื้อหาแก้ไขได้ของหน้าปัจจุบัน มีการใช้การจัดรูปแบบวิกิอย่างกว้างขวางในวิกิพีเดีย เช่น [[วิกิพีเดีย:ลิงก์|ไฮเปอร์ลิงก์]] ตารางและสดมภ์ เชิงอรรถ การอ้างอิงในบรรทัด อักขระพิเศษ เป็นต้น

ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "[[WYSIWYG|คุณได้อย่างที่คุณเห็น]]" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ

<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

=== ความย่อการแก้ไข ===
ขั้นแรก เมื่อคุณแก้ไขหน้าใด ๆ การกรอกคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องความย่อการแก้ไขถือเป็น[[วิกิพีเดีย:มารยาท|มารยาท]]ที่ดี กล่องนี้อยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ทั้งนี้ คุณจะย่อคำอธิบายของคุณให้สั้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณแก้ไขการสะกดอาจพิมพ์สั้น ๆ ว่า "แก้สะกด" ก็ได้ หรือ หากคุณเปลี่ยนแปลงหน้าแบบเล็กน้อย เช่น แก้ไขการสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ ให้เลือกกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (จะมีต่อเมื่อคุณล็อกอิน)

<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:ความย่อการแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

=== ดูตัวอย่าง ===
[[File:Mediawiki-button-preview.png|thumb|left|500px|ปุ่ม "แสดงตัวอย่าง" อยู่ขวามือถัดจากปุ่ม "เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง" และอยู่ใต้เขตข้อมูลความย่อการแก้ไข]]
ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' เสมอ หลังคุณเปลี่ยนแปลงในกล่องแก้ไขแล้ว กดปุ่ม {{button|{{Mediawiki:Showpreview}}}} ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณก่อนบันทึกจริง เราทุกคนล้วนเคยพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนผู้อื่นเห็น การใช้ '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการเปลี่ยนการจัดรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะ[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติหน้า]]

<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:แสดงตัวอย่าง]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

=== บันทึกหน้า ===
เมื่อกรอกความย่อการแก้ไข แสดงตัวอย่างหน้าแล้ว คุณก็พร้อมสำหรับขั้นสุดท้าย: คลิกปุ่ม {{button|เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง}}

== ไฟล์สื่อ ==
ภาพ เสียงและวิดีทัศน์ส่งเสริมบทความอย่างดีเยี่ยม สามารถแทรกไฟล์ที่มีอยู่แล้วในวิกิพีเดียหรือ[[วิกิมีเดียคอมมอนส์]]ได้ด้วยรหัสพื้นฐาน "<code><nowiki>[[ไฟล์:ชื่อไฟล์|thumb|คำอธิบาย]]</nowiki></code>" (สามารถใช้คำว่า "<code>ภาพ:</code>" แทน "<code>ไฟล์:</code> ได้โดยให้ผลไม่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความพึงใจของผู้เขียนทั้งสิ้น) การใช้ "<code>thumb</code>" จะสร้างรูปขนาดเล็ก (thumbnail) ของภาพ (เป็นตัวเลือกการจัดวางที่ใช้มากที่สุด)

ผู้ใช้ล็อกอินเท่านั้นที่สามารถอัปโหลดไฟล์ภายใต้ชื่อที่เหมาะสมได้ ขั้นแรกของการอัปโหลดไฟล์คือการระบุ[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|สถานภาพลิขสิทธิ์]]ของไฟล์ [[Commons:Special:UploadWizard|วิซาร์ดอัปโหลดไฟล์]]ของวิกิมีเดียคอมมอนส์ และ[[วิกิพีเดีย:อัปโหลด|แบบอัปโหลดไฟล์]]ของวิกิพีเดีย จะนำคุณผ่านกระบวนการส่งสื่อ ทุกไฟล์ที่อัปโหลดสะท้อนระหว่างวิกิพีเดียและวิกิมีเดียคอมมอนส์ และค้นหาได้จากทั้งสองเว็บไซต์

{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:ภาพ]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

== เปลี่ยนชื่อบทความ ==
[[ไฟล์:Vector hidden move button.png|thumb|left|ตัวเลือก "ย้าย" ปรากฏเมื่อคุณเลื่อนเคอร์เซอร์เมาส์เหนือรายการเลือกแบบดึงลง แสดงที่นี่]]
หากคุณพบบทความที่คุณเชื่อว่าใช้ชื่อผิด อย่าคัดลอกเนื้อหาจากบทความเก่าไปวางในบทความใหม่ เพราะจะทำให้[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติการแก้ไข]]ขาดหาย (ซึ่งเราจำเป็นต้องติดตามด้วยเหตุผลด้านลิขสิทธิ์) วิธีที่นิยมคือ การ'''ย้าย'''หน้าไปชื่อใหม่ (ต้องเป็นผู้ใช้ลงทะเบียน) หลักการเลือกชื่อเรื่องบทความมีอธิบายไว้ใน [[วิกิพีเดีย:ชื่อบทความ]] หากหน้า "แก้ความกำกวม" เข้ามาเกี่ยวข้อง ควรทบทวน [[วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม]] ด้วย

<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การย้ายหน้า]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

== สร้างบทความ ==
ก่อนสร้างบทความใหม่ กรุณาทำความเข้าใจ[[WP:NOTE|ข้อกำหนดความโดดเด่นของวิกิพีเดีย]] กล่าวสั้น ๆ คือ บทความจะต้องเป็นเรื่องที่มีการเผยแพร่ในแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถืออยู่แล้ว เช่น หนังสือที่สำนักพิมพ์ใหญ่จัดพิมพ์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารวิชาการที่มีผู้รู้ทบทวน และเว็บไซต์ที่ผ่านข้อกำหนดเดียวกัน สารสนเทศในวิกิพีเดียจะต้อง[[WP:V|สามารถพิสูจน์ยืนยันได้]] หากไม่มีแหล่งข้อมูลภายนอกที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับหัวข้อหนึ่ง หัวข้อนั้นก็ไม่ควรมีบทความแยกของตัวเอง ทั้งนี้ เพื่อเลี่ยงการใส่หัวข้อสัพเพเหระ

มี[[วิกิพีเดีย:วิซาร์ดบทความ|วิซาร์ดบทความ]]เพื่อช่วยคุณสร้างบทความ ก่อนสร้างบทความ กรุณา[[วิกิพีเดีย:ค้นหา|ค้นหา]]วิกิพีเดียก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีบทความเรื่องนั้นอยู่แล้ว และกรุณาทบทวน[[วิกิพีเดีย:ชื่อบทความ|นโยบายการตั้งชื่อบทความ]]สำหรับคำแนะนำการเลือกชื่อบทความ

{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องวิธีการสร้างบทความ ดู [[วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

== หน้าที่ถูกล็อก ==
บางหน้าถูกล็อกมิให้แก้ไข หน้าเหล่านี้จะมีแถบ '''ดูโค้ด''' แทนแถบ '''แก้ไข''' ตามปกติ คุณยังสามารถแก้ไขหน้าเหล่านี้โดยอ้อมได้โดยส่ง "คำขอแก้ไข" แล้วจะมีผู้ใช้ที่สามารถแก้ไขหน้านั้นได้มาสนองตอบคำขอของคุณ

{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การล็อก]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

== ถูกย้อน ==
หากการเปลี่ยนแปลงที่คุณสร้างถูกผู้ใช้อื่นย้อน ให้อภิปรายการเปลี่ยนแปลงในหน้าคุย! มีประโยชน์สำหรับการระบุข้อคัดค้าน รักษาการอภิปรายให้คืบหน้าและช่วยแก้ไขภาวะติดขัด ไม่สนับสนุน[[วิกิพีเดีย:สงครามแก้ไข|สงครามแก้ไข]] (คือ การย้อนการแก้ไขไปมา) อย่างยิ่ง หากละเมิดกฎนี้อาจทำให้ถูกบล็อกมิให้แก้ไขอีกเพื่อป้องกันการรบกวนเพิ่ม การแก้ไขรบกวนไม่ได้เจตนาเสมอไป เพราะผู้ใช้ใหม่อาจยังไม่ทราบที่ทางในวิกิพีเดีย

{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การย้อน]]'''</div>{{-}}
{{clear}}

== วิชวลเอดิเตอร์ ==
[[ไฟล์:VisualEditor-logo.svg|frameless|200px|right]]

[[วิกิพีเดีย:วิชวลเอดิเตอร์|วิชวลเอดิเตอร์]] (VisualEditor) ทำงานเสมือนเป็นโปรแกรมประมวลคำ และเป็นวิธีแก้ไขหน้าโดยไม่จำเป็นต้องเรียนมาร์กอัพวิกิก่อน

{{clear}}
<div style="float:right; margin-top: 0.0em; margin-bottom:3px; background-color: #cee0f2; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #a3b1bf;">'''ถัดไป: [[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/วิกิพีเดียลิงก์|วิกิพีเดียลิงก์]]''' <span style="font-size: larger; font-weight: bold;">→</span></div>
</div>
<div style="clear:both"></div>
</div>

[[หมวดหมู่:สอนการใช้งานวิกิพีเดีย|1]]
{{hidden title}}

[[vi:Wikipedia:Sách hướng dẫn/Viết bài]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:53, 18 สิงหาคม 2562

อารัมภบท วิธีการแก้ไข การจัดรูปแบบ ลิงก์ การอ้างอิง
แหล่งที่มา
 หน้าคุย จำไว้ว่า ลงทะเบียน ท้ายสุด  

การแก้ไขหน้าวิกิพีเดียส่วนใหญ่ไม่ยาก วิกิพีเดียใช้วิธีการแก้ไขสองวิธี การแก้ไขคลาสสิกผ่านการจัดรูปแบบวิกิ (ข้อความวิกิ) และผ่านวิชวลเอดิเตอร์ (VisualEditor) มาใหม่

หากต้องการฝึกแก้ไข ให้ไปหน้าทดลองเขียน แล้วคลิกแถบ แก้ไข จะมีการแสดงหน้าต่างแก้ไขที่มีข้อความสำหรับหน้านั้น ลองพิมพ์ดู หรือเปลี่ยนแปลงข้อความที่คุณจะได้พบในหน้านั้น แล้วคลิก เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง และดูว่าผลลัพธ์ออกมาอย่างไร

แถบแก้ไข

กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ

เลือกการจัดรูปแบบวิกิโดยคลิกแถบ แก้ไข ที่อยู่บนสุดของหน้าวิกิพีเดีย (หรือลิงก์แก้ไขส่วน) จะพาคุณเข้าหน้าใหม่ที่มีเนื้อหาแก้ไขได้ของหน้าปัจจุบัน มีการใช้การจัดรูปแบบวิกิอย่างกว้างขวางในวิกิพีเดีย เช่น ไฮเปอร์ลิงก์ ตารางและสดมภ์ เชิงอรรถ การอ้างอิงในบรรทัด อักขระพิเศษ เป็นต้น

ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "คุณได้อย่างที่คุณเห็น" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การแก้ไข

ความย่อการแก้ไข

ขั้นแรก เมื่อคุณแก้ไขหน้าใด ๆ การกรอกคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องความย่อการแก้ไขถือเป็นมารยาทที่ดี กล่องนี้อยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ทั้งนี้ คุณจะย่อคำอธิบายของคุณให้สั้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณแก้ไขการสะกดอาจพิมพ์สั้น ๆ ว่า "แก้สะกด" ก็ได้ หรือ หากคุณเปลี่ยนแปลงหน้าแบบเล็กน้อย เช่น แก้ไขการสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ ให้เลือกกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (จะมีต่อเมื่อคุณล็อกอิน)

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:ความย่อการแก้ไข

ดูตัวอย่าง

ปุ่ม "แสดงตัวอย่าง" อยู่ขวามือถัดจากปุ่ม "เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง" และอยู่ใต้เขตข้อมูลความย่อการแก้ไข

ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม แสดงตัวอย่าง เสมอ หลังคุณเปลี่ยนแปลงในกล่องแก้ไขแล้ว กดปุ่ม แสดงตัวอย่าง ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณก่อนบันทึกจริง เราทุกคนล้วนเคยพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนผู้อื่นเห็น การใช้ แสดงตัวอย่าง ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการเปลี่ยนการจัดรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะประวัติหน้า

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:แสดงตัวอย่าง

บันทึกหน้า

เมื่อกรอกความย่อการแก้ไข แสดงตัวอย่างหน้าแล้ว คุณก็พร้อมสำหรับขั้นสุดท้าย: คลิกปุ่ม เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง

ไฟล์สื่อ

ภาพ เสียงและวิดีทัศน์ส่งเสริมบทความอย่างดีเยี่ยม สามารถแทรกไฟล์ที่มีอยู่แล้วในวิกิพีเดียหรือวิกิมีเดียคอมมอนส์ได้ด้วยรหัสพื้นฐาน "[[ไฟล์:ชื่อไฟล์|thumb|คำอธิบาย]]" (สามารถใช้คำว่า "ภาพ:" แทน "ไฟล์: ได้โดยให้ผลไม่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความพึงใจของผู้เขียนทั้งสิ้น) การใช้ "thumb" จะสร้างรูปขนาดเล็ก (thumbnail) ของภาพ (เป็นตัวเลือกการจัดวางที่ใช้มากที่สุด)

ผู้ใช้ล็อกอินเท่านั้นที่สามารถอัปโหลดไฟล์ภายใต้ชื่อที่เหมาะสมได้ ขั้นแรกของการอัปโหลดไฟล์คือการระบุสถานภาพลิขสิทธิ์ของไฟล์ วิซาร์ดอัปโหลดไฟล์ของวิกิมีเดียคอมมอนส์ และแบบอัปโหลดไฟล์ของวิกิพีเดีย จะนำคุณผ่านกระบวนการส่งสื่อ ทุกไฟล์ที่อัปโหลดสะท้อนระหว่างวิกิพีเดียและวิกิมีเดียคอมมอนส์ และค้นหาได้จากทั้งสองเว็บไซต์

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:ภาพ

เปลี่ยนชื่อบทความ

ตัวเลือก "ย้าย" ปรากฏเมื่อคุณเลื่อนเคอร์เซอร์เมาส์เหนือรายการเลือกแบบดึงลง แสดงที่นี่

หากคุณพบบทความที่คุณเชื่อว่าใช้ชื่อผิด อย่าคัดลอกเนื้อหาจากบทความเก่าไปวางในบทความใหม่ เพราะจะทำให้ประวัติการแก้ไขขาดหาย (ซึ่งเราจำเป็นต้องติดตามด้วยเหตุผลด้านลิขสิทธิ์) วิธีที่นิยมคือ การย้ายหน้าไปชื่อใหม่ (ต้องเป็นผู้ใช้ลงทะเบียน) หลักการเลือกชื่อเรื่องบทความมีอธิบายไว้ใน วิกิพีเดีย:ชื่อบทความ หากหน้า "แก้ความกำกวม" เข้ามาเกี่ยวข้อง ควรทบทวน วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม ด้วย

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การย้ายหน้า

สร้างบทความ

ก่อนสร้างบทความใหม่ กรุณาทำความเข้าใจข้อกำหนดความโดดเด่นของวิกิพีเดีย กล่าวสั้น ๆ คือ บทความจะต้องเป็นเรื่องที่มีการเผยแพร่ในแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถืออยู่แล้ว เช่น หนังสือที่สำนักพิมพ์ใหญ่จัดพิมพ์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารวิชาการที่มีผู้รู้ทบทวน และเว็บไซต์ที่ผ่านข้อกำหนดเดียวกัน สารสนเทศในวิกิพีเดียจะต้องสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ หากไม่มีแหล่งข้อมูลภายนอกที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับหัวข้อหนึ่ง หัวข้อนั้นก็ไม่ควรมีบทความแยกของตัวเอง ทั้งนี้ เพื่อเลี่ยงการใส่หัวข้อสัพเพเหระ

มีวิซาร์ดบทความเพื่อช่วยคุณสร้างบทความ ก่อนสร้างบทความ กรุณาค้นหาวิกิพีเดียก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีบทความเรื่องนั้นอยู่แล้ว และกรุณาทบทวนนโยบายการตั้งชื่อบทความสำหรับคำแนะนำการเลือกชื่อบทความ

สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องวิธีการสร้างบทความ ดู วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ

หน้าที่ถูกล็อก

บางหน้าถูกล็อกมิให้แก้ไข หน้าเหล่านี้จะมีแถบ ดูโค้ด แทนแถบ แก้ไข ตามปกติ คุณยังสามารถแก้ไขหน้าเหล่านี้โดยอ้อมได้โดยส่ง "คำขอแก้ไข" แล้วจะมีผู้ใช้ที่สามารถแก้ไขหน้านั้นได้มาสนองตอบคำขอของคุณ

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การล็อก

ถูกย้อน

หากการเปลี่ยนแปลงที่คุณสร้างถูกผู้ใช้อื่นย้อน ให้อภิปรายการเปลี่ยนแปลงในหน้าคุย! มีประโยชน์สำหรับการระบุข้อคัดค้าน รักษาการอภิปรายให้คืบหน้าและช่วยแก้ไขภาวะติดขัด ไม่สนับสนุนสงครามแก้ไข (คือ การย้อนการแก้ไขไปมา) อย่างยิ่ง หากละเมิดกฎนี้อาจทำให้ถูกบล็อกมิให้แก้ไขอีกเพื่อป้องกันการรบกวนเพิ่ม การแก้ไขรบกวนไม่ได้เจตนาเสมอไป เพราะผู้ใช้ใหม่อาจยังไม่ทราบที่ทางในวิกิพีเดีย

สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู วิธีใช้:การย้อน

วิชวลเอดิเตอร์

วิชวลเอดิเตอร์ (VisualEditor) ทำงานเสมือนเป็นโปรแกรมประมวลคำ และเป็นวิธีแก้ไขหน้าโดยไม่จำเป็นต้องเรียนมาร์กอัพวิกิก่อน