ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Paybig (คุย | ส่วนร่วม)
Paybig ย้ายหน้า ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019 ไปยัง 2019 UEFA Super Cup
Paybig (คุย | ส่วนร่วม)
Paybig ย้ายหน้า 2019 UEFA Super Cup ไปยัง ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019 ทับหน้าเปลี่ยนทาง
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:43, 15 สิงหาคม 2562

ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019
โวดาโฟนพาร์ก ใน อิสตันบูล จะเป็นสนามที่ใช้ในการแข่งขันนี้
หลังต่อเวลาพิเศษ
ลิเวอร์พูล ชนะ ลูกโทษ 5–4
วันที่14 สิงหาคม พ.ศ. 2562
สนามโวดาโฟนพาร์ก, อิสตันบูล
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ซาดีโย มาเน (ลิเวอร์พูล)[1]
ผู้ตัดสินสเตฟานี ฟรัปปาร์ (ฝรั่งเศส)[2]
สภาพอากาศมีเมฆมากในตอนกลางคืน
26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์)
73% ความชื้นสัมพัทธ์[3]
2018
2020

ยูฟ่าซูเปอร์คัพ เป็นการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ ครั้งที่ 44 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลประจำปีที่จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยจะเป็นนัดการแข่งขันระหว่างสโมสรที่ชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก กับ สโมสรที่ชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก โดยในปีนี้เป็นการแข่งขันระหว่างสโมสรจากอังกฤษ ระหว่าง ลิเวอร์พูล สโมสรชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 กับ เชลซี สโมสรชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19[4] โดยจะทำการแข่งขันที่โวดาโฟนพาร์ก ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562[5] ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นครั้งแรกที่สโมสรจากประเทศอังกฤษพบกันในการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ และเป็นครั้งที่ 8 ที่สโมสรจากประเทศเดียวกันพบกันเองในการแข่งขันนี้

ระบบผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) จะใช้ในการแข่งขันนี้[6]

สโมสร

สโมสร การเข้ารอบ การแข่งขันล่าสุด (ตัวหนาคือชนะเลิศ)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล ชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 5 (1977, 1978, 1984, 2001, 2005)
อังกฤษ เชลซี ชนะเลิศ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19 3 (1998, 2012, 2013)

สนามแข่งขัน

เป็นการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพที่จัดขึ้นที่ประเทศตุรกี และเป็นการแข่งขันระดับสโมสรที่จัดขึ้นขึ้นโดยยูฟ่าครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นที่ประเทศนี้ หลังจาก ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2005 ที่ สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค และ ยูฟ่าคัพ นัดชิงชนะเลิศ 2009 ที่ ซูครูซาราคอกลูสเตเดียม ซึ่งทั้งหมดจัดขึ้นที่ อิสตันบูล[7]

โดยครั้งนี้จะขึ้นที่สนามเหย้าของเบชิกทัช ซึ่งตามกฎของยูฟ่าไม่อนุญาตให้ใช้ชื่อผู้สนับสนุนของสนาม ทำให้ต้องใช้ชื่อ เบชิกทัชพาร์ก ในการแข่งขันยูฟ่า[7]

การคัดเลือกเจ้าภาพ

มีการเปิดให้เสนอชื่อเจ้าภาพในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยเป็นครั้งแรกที่ยูฟ่าทำการคัดเลือกสนามในนัดชิงชนะเลิศของทั้ง ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, ยูฟ่ายูโรปาลีก, ยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก และ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ พร้อมกัน[8][9]

ต่อมา ยูฟ่าได้ประกาศ 9 สมาคมที่ได้รับการคัดเลือกในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560[10] และได้ยืนยันการเสนอชื่อสนามแข่งขันจาก 7 สมาคม อีกครั้งในวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560[11]

สมาคมที่เสนอชื่อสนามแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019
ประเทศ สนาม เมือง ความจุ หมายเหตุ
แอลเบเนีย แอลเบเนีย สนามกีฬาแห่งชาติ ติรานา 22,500 ที่นั่ง
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส สตาดียอมมูว์นีซีปาล ตูลูซ 33,150 ที่นั่ง
อิสราเอล อิสราเอล แซมมีโอเฟร์สเตเดียม ไฮฟา 30,870 ที่นั่ง
คาซัคสถาน คาซัคสถาน อัสตานาอารีนา นูร์-ซุลตัน 30,244 ที่นั่ง เสนอชื่อเป็นสนามแข่งขันยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก รอบชิงชนะเลิศ ​2019 ด้วย
ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ วินเซอร์พาร์ก เบลฟาสต์ 18,434 ที่นั่ง
โปแลนด์ โปแลนด์ สตาดียอมอีแนร์กากดัญสก์ กดัญสก์ 41,160 ที่นั่ง[12] ก่อนหน้านี้เสนอชื่อ สนามกีฬาแห่งชาติวอร์ซอ ใน วอร์ซอ
ตุรกี ตุรกี โวดาโฟนพาร์ก อิสตันบูล 41,188 ที่นั่ง[13] เสนอชื่อเป็นสนามแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบชิงชนะเลิศ 2019 ด้วย

สมาคมที่ให้ความสนใจที่จะเป็นเจ้าภาพ แต่ไม่ได้เสนอชื่อ:

โวดาโฟนพาร์ก ได้รับคัดเลือกให้เป็นสนามแข่งขันจากคณะกรรมการยูฟ่าในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560[14][5]

นัด

ผู้ตัดสิน

เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562, ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่า สเตฟานี ฟรัปปาร์ ของฝรั่งเศสได้ทำหน้าที่ตัดสินในนัดนี้, กลายเป็นผู้หญิงคนแรกสู่การเป็นผู้ตัดสินนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันยูฟ่าทีมชาย. ฟรัปปาร์ได้รับการเสนอชื่อให้เป็น ผู้ตัดสินฟีฟ่า นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009,[15]

รายละเอียด

Liverpool[3]
Chelsea[3]
GK 13 สเปน อาเดรียน
RB 12 อังกฤษ โจ โกเมซ
CB 32 แคเมอรูน ฌอแอล มาติป
CB 4 เนเธอร์แลนด์ เฟอร์จิล ฟัน ไดก์
LB 26 สกอตแลนด์ แอนดรูว์ รอเบิร์ตสัน Substituted off in the 91 นาที 91'
CM 7 อังกฤษ เจมส์ มิลเนอร์ Substituted off in the 64 นาที 64'
CM 3 บราซิล ฟาบิญญู
CM 14 อังกฤษ จอร์แดน เฮนเดอร์สัน (กัปตัน) โดนใบเหลือง ใน 85 นาที 85'
RF 15 อังกฤษ อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน Substituted off in the 46 นาที 46'
CF 11 อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์
LF 10 เซเนกัล ซาดีโย มาเน Substituted off in the 103 นาที 103'
รายชื่อผู้เล่นตัวสำรอง:
GK 22 อังกฤษ แอนดี โลเนอร์แกน
GK 62 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ คีวิน เคลเลเฮอร์
DF 51 เนเธอร์แลนด์ คี-จานา ฮูเฟอร์
DF 66 อังกฤษ เทรนต์ อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์ โดนใบเหลือง ใน 107 นาที 107' Substituted on in the 91 minute 91'
MF 5 เนเธอร์แลนด์ จอร์จีนีโย ไวนัลดึม Substituted on in the 64 minute 64'
MF 20 อังกฤษ แอดัม ลัลลานา
MF 23 สวิตเซอร์แลนด์ แจร์ดัน ชาชีรี
MF 67 อังกฤษ ฮาวี เอลเลียต
FW 9 บราซิล โรแบร์ตู ฟีร์มีนู Substituted on in the 46 minute 46'
FW 24 อังกฤษ เรียน บริวสเตอร์
FW 27 เบลเยียม ดีว็อก โอรีกี Substituted on in the 103 minute 103'
ผู้จัดการทีม:
เยอรมนี เยือร์เกิน คล็อพ
GK 1 สเปน เกปา อาร์ริซาบาลากา
RB 28 สเปน เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา (กัปตัน) โดนใบเหลือง ใน 79 นาที 79'
CB 15 ฝรั่งเศส กูร์ต ซูมา
CB 4 เดนมาร์ก แอนเทรแอส เครสเตินเซิน Substituted off in the 85 นาที 85'
LB 33 อิตาลี แอแมร์ซง ปัลมีเอรี
CM 5 อิตาลี ฌอร์ฌิญญู
CM 7 ฝรั่งเศส อึงโกโล ก็องเต
CM 17 โครเอเชีย มาเทออ คอวาชิช Substituted off in the 101 นาที 101'
RF 22 สหรัฐ คริสเตียน พูลิซิช Substituted off in the 74 นาที 74'
CF 18 ฝรั่งเศส ออลีวีเย ฌีรู Substituted off in the 74 นาที 74'
LF 11 สเปน เปโดร
รายชื่อผู้เล่นตัวสำรอง:
GK 13 อาร์เจนตินา วิลิ กาบาเยโร
DF 2 เยอรมนี อันโทนีโอ รือดีเกอร์
DF 3 สเปน มาร์โกส อาลอนโซ
DF 21 อิตาลี ดาวีเด ซัปปากอสตา
DF 29 อังกฤษ ฟีกาโย โทโมรี Substituted on in the 85 minute 85'
MF 8 อังกฤษ รอสส์ บาร์กลีย์ Substituted on in the 101 minute 101'
MF 19 อังกฤษ เมสัน เมานต์ Substituted on in the 74 minute 74'
MF 47 สกอตแลนด์ บิลลี กิลมัวร์
FW 9 อังกฤษ แทมมี อับราฮัม Substituted on in the 74 minute 74'
FW 10 บราซิล วีลียัง
FW 16 บราซิล เคเนดี
FW 23 เบลเยียม มีชี บัตชัวยี
ผู้จัดการทีม:
อังกฤษ แฟรงก์ แลมพาร์ด

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ซาดีโย มาเน (ลิเวอร์พูล)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Manuela Nicolosi (ฝรั่งเศส)
Michelle O'Neill (สาธารณรัฐไอร์แลนด์)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Cüneyt Çakır (ตุรกี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Clément Turpin (ฝรั่งเศส)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการช่วยตัดสินวิดีโอ:[2]
François Letexier (ฝรั่งเศส)
Mark Borsch (เยอรมนี)
Massimiliano Irrati (อิตาลี)

กฎกติกาการแข่งขัน[16]

  • แข่งขัน 90 นาที
  • หากเสมอกันให้ต่อเวลาพิเศษ 30 นาที
  • และหากยังเสมอกันอีกจะมีการ ยิงลูกโทษที่จุดโทษตัดสิน
  • ส่งผู้เล่นสำรองได้ 12 คน
  • สามารถเปลี่ยนผู้เล่นสำรองลงสนามได้ 3 คน, คนที่สี่จะได้รับอนุญาตการเปลี่ยนตัวได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ

สถิติ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Liverpool beat Chelsea on penalties to win Super Cup". UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ officials
  3. 3.0 3.1 3.2 "Tactical line-ups" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  4. "2019 UEFA Super Cup: Liverpool v Chelsea". UEFA.com. 1 มิถุนายน 2562.
  5. 5.0 5.1 "Madrid to host UEFA Champions League Final 2019". UEFA.com. ยูฟ่า. 20 กันยายน 2560. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  6. "VAR to be introduced in 2019/20 UEFA Champions League". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  7. 7.0 7.1 "Beşiktaş Park, Istanbul to stage 2019 UEFA Super Cup". UEFA.com. 20 กันยายน 2560.
  8. "Lyon to host 2018 UEFA Europa League final". UEFA. 9 ธันวาคม 2559.
  9. "UEFA club competition finals 2019: bid regulations" (PDF). UEFA.
  10. "15 associations interested in hosting 2019 club finals". UEFA. 3 กุมภาพันธ์ 2560.
  11. "Ten associations bidding to host 2019 club finals". 7 มิถุนายน 2560.
  12. "Stadion Energa Numbers". {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |dead-url= (help)
  13. "Stat Arama Detay TFF". www.tff.org. สืบค้นเมื่อ 2018-03-12.
  14. "UEFA Executive Committee agenda for Nyon meeting". UEFA.com. 7 กันยายน 2560.
  15. "Referees: France". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2019. สืบค้นเมื่อ 5 July 2019. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |dead-url= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  16. "Regulations of the UEFA Super Cup 2019" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations.
  17. "Half-time report" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2019.
  18. 18.0 18.1 18.2 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 14 August 2019. สืบค้นเมื่อ 14 August 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น