ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขันธ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8443976 โดย Mopzaด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]] ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
* [[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองกรากดี สุรเตโช)]] ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548


[[หมวดหมู่:ขันธ์ ๕]]
[[หมวดหมู่:ขันธ์ ๕]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:15, 14 สิงหาคม 2562

ขันธ์ แปลว่า ตัว, หมู่, กอง, พวก, หมวด ในทางพุทธศาสนาหมายถึงส่วนหนึ่งๆ ของรูปกับนามที่แยกออกเป็น 5 กอง คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งเรียกว่า ขันธ์ 5 หรือขันธ์ทั้ง 5

  1. รูป สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยตา เช่นรูปตัวคน รูปตัวสัตว์ เค้าโครง ได้แก่ ส่วนที่ผสมกันของธาตุดิน น้ำ ไฟ ลม
  2. เวทนา คือความรู้สึก ได้แก่ ทุกข์ สุข อทุกขมสุข เช่น ความเจ็บปวด ทุกข์ทรมาน
  3. สัญญา คือความจำได้หมายรู้ ได้แก่ จำสิ่งที่ได้รับและรู้สึกนั้นๆ
  4. สังขาร คือการคิดปรุงแต่ง เช่นการแยกแยะสิ่งที่รับรู้ การคิดวิเคราะห์
  5. วิญญาณ ความรับรู้ ได้แก่ ระบบรับรู้สิ่งนั้นๆ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

ขันธ์นี้ รูปจัดเป็นรูปธรรม เวทนา,สัญญา,สังขาร,วิญญาณจัดเป็นนามธรรม เมื่อจัดขันธ์เข้าในปรมัตถธรรม

  • วิญญาณขันธ์ จัดเข้าในจิต
  • เวทนาขันธ์ ,สัญญาขันธ์ ,สังขารขันธ์ จัดเข้าในเจตสิก
  • รูปขันธ์ จัดเข้าในรูป
  • การหมดเหตุปัจจัยของนามรูป จัดเข้าในนิพพาน
  • ขันธ์ 5 จัดเข้าในไตรลักษณ์

อ้างอิง