ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าซอยู่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


==พระประวัติช่วงต้น==
==พระประวัติช่วงต้น==
พระเจ้าซอยุนประสูติแต่ พระเจ้าสีหตู, ผู้ร่วมก่อตั้ง [[อาณาจักรมยีนไซง์]], and [[พระนางยะดะนาโบนแห่งปี้นยะ|ยะดะนาโบน]], บุตรสาวของหัวหน้าหมู่บ้านลี่นยี่น ,<ref name=hy-1-371-372>Hmannan Vol. 1 2003: 371–372</ref> {{circa}} ค.ศ. 1299. ตามที่นักวิชาการชาวอาณานิคมอังกฤษ, พระราชมารดาของพระเจ้าซอยุนเป็นเชื้อชาติ [[ชาน]] และพระราชบิดาของพระองค์เป็นลูกครึ่งชาน.<ref name=app/> แต่ [[พระราชพงศาวดาร]] ไม่ได้กล่าวถึงเชื้อชาติของพระองค์เลย. พระองค์เติบโตขึ้นมาใน [[ปีนแล]], เมืองหลวงของพระราชบิดาของพระองค์ พร้อมกับพระเชษฐาต่างพระมารดา [[พระเจ้าอูซะนาที่ 1 แห่งปี้นยะ|อูซะนา]], พระอนุชาต่างพระมารดา [[พระเจ้าจะซวาที่ 1 แห่งปี้นยะ|จะซวา]], และพระขนิษฐาต่างพระมารดา ซอปาเล. พระราชวงศ์ย้ายไปยัง [[ปี้นยะ]] ใน ค.ศ. 1313 เมื่อพระเจ้าสีหตูกลายเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวของ [[อาณาจักรปี้นยะ|อาณาจักรมยีนไซง์-ปี้นยะ]].<ref name=hy-1-370>Hmannan Vol. 1 2003: 370</ref>
Saw Yun was born to Thihathu, co-founder of [[Myinsaing Kingdom]], and [[Yadanabon of Pinya|Yadanabon]], daughter of the village head of Linyin,<ref name=hy-1-371-372>Hmannan Vol. 1 2003: 371–372</ref> {{circa}} 1299. According to British colonial scholars, Saw Yun's mother was an ethnic [[Shan people|Shan]] and his father half-Shan.<ref name=app/> But the [[Burmese chronicles|royal chronicles]] do not mention his ethnicity at all. He grew up in [[Pinle]], his father's capital alongside an elder step-brother [[Uzana I of Pinya|Uzana]], half younger brother [[Kyawswa I of Pinya|Kyawswa]], and a younger half-sister Saw Pale. The family moved to [[Pinya]] in 1313 when Thihathu became the sole ruler of the [[Pinya Kingdom|Kingdom of Myinsaing–Pinya]].<ref name=hy-1-370>Hmannan Vol. 1 2003: 370</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:31, 12 สิงหาคม 2562

ซอยุน
အသင်္ခယာ စောယွမ်း
กษัตริย์แห่งซะไกง์
ครองราชย์15 พฤษภาคม 1315 – 5 กุมภาพันธ์ 1327
ก่อนหน้าสีหตู
ถัดไปตราพระยาที่ 1
ประสูติป. 1299
Monday, 661 ME
ปีนแล, อาณาจักรมยีนไซง์
สวรรคต5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1327 (aged 27)
Thursday, Full moon of Tabaung 688 ME
ซะไกง์, อาณาจักรซะไกง์
มเหสีซอนอง
พระราชบุตรSoe Min
จะซวา
Nawrahta Minye
ตราพระยาที่ 2
ราชวงศ์มยีนไซง์
พระราชบิดาสีหตู
พระราชมารดาYadanabon
ศาสนาพุทธเถรวาท

อตินคายา ซอยุน (พม่า: အသင်္ခယာ စောယွမ်း [ʔəθɪ̀ɴ kʰəjà sɔ́ jʊ́ɴ]; บางทีสะกด Sawyun; ป. 1299 – 5 กุมภาพันธ์ 1327) เป็นผู้ก่อตั้ง อาณาจักรซะไกง์ ของ เมียนมา (พม่า). พระราชโอรสองค์ใหญ่ของ สีหตู ตั้งอาณาจักรคู่แข่งขึ้นใน ค.ศ. 1315 หลังจากพระเจ้าสีหตูสถาปนา อูซะนาที่ 1 เป็น ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง.[1] พระเจ้าซอยุนประสบความสำเร็จในการต่อต้านการเดินทัพเล็ก ๆ สองครั้ง โดย ปี้นยะ ในปี ค.ศ. 1317. ในขณะที่พระเจ้าซอยุนยังคงภักดีต่อพระราชบิดาของพระองค์, พระองค์เป็นกษัตริย์โดยพฤตินัยของพื้นที่ซึ่งสอดคล้องกับ เขตซะไกง์ และ ตอนเหนือของ เขตมัณฑะเลย์ ในปัจจุบัน.[2]

หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าสีหตู, ซะไกง์ และ ปี้นยะ แยกทางกันอย่างเป็นทางการ. พระเจ้าซอยุน สวรรคตในปี ค.ศ. 1327.[3] พระเจ้าซอยุนมีพระราชบุตร 4 พระองค์, พระราชโอรส 3 พระองค์ และ พระราชธิดา. พระราชโอรสทั้งหมดของพระองค์กลายเป็นกษัตริย์แห่งซะไกง์. พระราชธิดาพระองค์เดียวของพระองค์เป็นพระราชมารดาของ ตะโดมินพญา, ผู้ก่อตั้ง อาณาจักรอังวะ.

พระประวัติช่วงต้น

พระเจ้าซอยุนประสูติแต่ พระเจ้าสีหตู, ผู้ร่วมก่อตั้ง อาณาจักรมยีนไซง์, and ยะดะนาโบน, บุตรสาวของหัวหน้าหมู่บ้านลี่นยี่น ,[4] ป. ค.ศ. 1299. ตามที่นักวิชาการชาวอาณานิคมอังกฤษ, พระราชมารดาของพระเจ้าซอยุนเป็นเชื้อชาติ ชาน และพระราชบิดาของพระองค์เป็นลูกครึ่งชาน.[1] แต่ พระราชพงศาวดาร ไม่ได้กล่าวถึงเชื้อชาติของพระองค์เลย. พระองค์เติบโตขึ้นมาใน ปีนแล, เมืองหลวงของพระราชบิดาของพระองค์ พร้อมกับพระเชษฐาต่างพระมารดา อูซะนา, พระอนุชาต่างพระมารดา จะซวา, และพระขนิษฐาต่างพระมารดา ซอปาเล. พระราชวงศ์ย้ายไปยัง ปี้นยะ ใน ค.ศ. 1313 เมื่อพระเจ้าสีหตูกลายเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวของ อาณาจักรมยีนไซง์-ปี้นยะ.[5]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Phayre 1967:58–59
  2. Htin Aung 1967: 71–79
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ tt-1959-126
  4. Hmannan Vol. 1 2003: 371–372
  5. Hmannan Vol. 1 2003: 370