ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาดาเมลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
| states = [[ประเทศปากีสถาน]]
| states = [[ประเทศปากีสถาน]]
| speakers = 5,000 คน
| speakers = 5,000 คน
| fam2 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อิหร่าน]]
| fam2 = [[ภาษากลุ่มอินโด-อิเรเนียน]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มดาร์ดิก]]
| fam3 = [[ภาษากลุ่มดาร์ดิก]]
| iso1 = |iso2=
| iso1 = |iso2=
}}
}}


'''ภาษาดาเมลี''' เป็นภาษาที่มีผู้พูดราว 5,000 คนใน[[หุบเขาโคเมล]]ใน[[ตำบลชิตรัล]] [[จังหวัดฟรอนเทียร์ตะวันตกเฉียงเหนือ]] [[ประเทศปากีสถาน]] หุบเขานี้มีระยะทางสิบไมล์จากทางใต้ของโดรสไปจนถึงด้านตะวันตกของแม่น้ำชิตรัล ภาษาดาเมลีเป็นภาษาสำคัญในบริเวณนั้น ผู้ชายส่วนใหญ่พูด[[ภาษาพาชตู]]เป็นภาษาที่สองและมีบางส่วนพูด[[ภาษาโควาร์]]หรือ[[ภาษาอูรดู]]
'''ภาษาดาเมลี''' เป็นภาษาที่มีผู้พูดราว 5,000 คนใน[[หุบเขาโคเมล]]ใน[[ตำบลชิตรัล]] [[จังหวัดฟรอนเทียร์ตะวันตกเฉียงเหนือ]] [[ประเทศปากีสถาน]] หุบเขานี้มีระยะทางสิบไมล์จากทางใต้ของโดรสไปจนถึงด้านตะวันตกของแม่น้ำชิตรัล ภาษาดาเมลีเป็นภาษาสำคัญในบริเวณนั้น ผู้ชายส่วนใหญ่พูด[[ภาษาปาทาน]]เป็นภาษาที่สองและมีบางส่วนพูด[[ภาษาโควาร์]]หรือ[[ภาษาอูรดู]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
* Morgenstierne, Georg (1942) Notes on Dameli. A Kafir-Dardic Language of Chitral. Norsk Tidsskrift for Sprogvidenskap Vol. 12: 115 - 198.
* Morgenstierne, Georg (1942) Notes on Dameli. A Kafir-Dardic Language of Chitral. Norsk Tidsskrift for Sprogvidenskap Vol. 12: 115 - 198.
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
{{อินโด-อิหร่าน}}
{{อินโด-อิเรเนียน}}
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:57, 7 สิงหาคม 2562

ภาษาดาเมลี
ประเทศที่มีการพูดประเทศปากีสถาน
จำนวนผู้พูด5,000 คน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3

ภาษาดาเมลี เป็นภาษาที่มีผู้พูดราว 5,000 คนในหุบเขาโคเมลในตำบลชิตรัล จังหวัดฟรอนเทียร์ตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศปากีสถาน หุบเขานี้มีระยะทางสิบไมล์จากทางใต้ของโดรสไปจนถึงด้านตะวันตกของแม่น้ำชิตรัล ภาษาดาเมลีเป็นภาษาสำคัญในบริเวณนั้น ผู้ชายส่วนใหญ่พูดภาษาปาทานเป็นภาษาที่สองและมีบางส่วนพูดภาษาโควาร์หรือภาษาอูรดู

อ้างอิง