ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำเจ้าพระยา"

พิกัด: 13°32′25″N 100°35′23″E / 13.54028°N 100.58972°E / 13.54028; 100.58972
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎จังหวัดชัยนาท: เพิ่มอ้างอิง
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎จังหวัดนนทบุรี: เชื่อมบทความ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 579: บรรทัด 579:
*[[วัดสิงห์]]
*[[วัดสิงห์]]
==== จังหวัดนนทบุรี ====
==== จังหวัดนนทบุรี ====
* วัดปรมัยยิกาวาส
*[[วัดปรมัยยิกาวาส]]
* วัดกลางเกร็ด
*[[วัดกลางเกร็ด]]
* เกาะเกร็ด
*[[เกาะเกร็ด]]
* [[กรมชลประทาน]]
* [[กรมชลประทาน]]
* วัดแคนอก
*[[วัดแคนอก]]
* อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก
*[[อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก]]
* วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
*[[วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร]]
* [[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย]]
* [[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย]]


==== กรุงเทพมหานคร ====
==== กรุงเทพมหานคร ====
* [[วัดสร้อยทอง]]
* [[วัดสร้อยทอง]]
* วัดวิมุตยาราม
*[[วัดวิมุตยาราม]]
* [[วังเทเวศร์]]
* [[วังเทเวศร์]]
* [[วังบางขุนพรหม]]
* [[วังบางขุนพรหม]]
* วัดบางน้ำผึ้งนอก
*[[วัดบางน้ำผึ้งนอก]]
* [[วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
* [[วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
* [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
* [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
* สวนใต้[[สะพานพระราม 8]]
* สวนใต้[[สะพานพระราม 8]]
* สวนสันติชัยปราการ
*[[สวนสันติชัยปราการ]]
* [[โรงพยาบาลศิริราช]]
* [[โรงพยาบาลศิริราช]]
* [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์
* [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์
บรรทัด 605: บรรทัด 605:
* [[โบสถ์ซางตาครูส]]
* [[โบสถ์ซางตาครูส]]
* [[วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร]]
* [[วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร]]
* สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
*[[สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร]]
* [[ริเวอร์ซิตี]]
* [[ริเวอร์ซิตี]]
* [[เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์]]
* [[เอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์]]
บรรทัด 612: บรรทัด 612:
* [[โบสถ์กาลหว่าร์]]
* [[โบสถ์กาลหว่าร์]]
* [[วัดยานนาวา]]
* [[วัดยานนาวา]]
* วัดบุคคโล
*[[วัดบุคคโล]]
* วัดราษฎร์บูรณะ
*[[วัดราษฎร์บูรณะ]]
* วัดแก้วฟ้าจุฬามณี
*[[วัดแก้วฟ้าจุฬามณี]]
* สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ใต้[[สะพานพระราม 9]]
*[[สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ]] ใต้[[สะพานพระราม 9]]
* [[สัปปายะสภาสถาน]]
* [[สัปปายะสภาสถาน]]
* [[ท่าเรือกรุงเทพ]]
* [[ท่าเรือกรุงเทพ]]
บรรทัด 622: บรรทัด 622:
* ประตูระบายน้ำ[[คลองลัดโพธิ์]]
* ประตูระบายน้ำ[[คลองลัดโพธิ์]]
* [[วัดพระสมุทรเจดีย์]]
* [[วัดพระสมุทรเจดีย์]]
* ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ
*[[ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ]]
* [[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]
* [[ป้อมพระจุลจอมเกล้า]]
*[[โรงเรียนนายเรือ]]
*[[โรงเรียนนายเรือ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:34, 5 สิงหาคม 2562

แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำ
แม่น้ำเจ้าพระยา ช่วงกรุงเทพมหานคร
ประเทศ ประเทศไทย
จังหวัด นครสวรรค์, อุทัยธานี, ชัยนาท, สิงห์บุรี, อ่างทอง, พระนครศรีอยุธยา, ปทุมธานี, นนทบุรี, กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ
แม่น้ำสาขา
 - ซ้าย แม่น้ำป่าสัก
 - ขวา แม่น้ำสะแกกรัง
ต้นกำเนิด ไหลรวมจากแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน
 - ตำแหน่ง ปากน้ำโพ, อำเภอเมืองนครสวรรค์, จังหวัดนครสวรรค์
ปากแม่น้ำ ปากน้ำ
 - ตำแหน่ง อ่าวไทย, อำเภอเมืองสมุทรปราการ, จังหวัดสมุทรปราการ
 - ระดับ
ความยาว 372 km (231 mi)
พื้นที่ลุ่มน้ำ 160,400 ตร.กม. (61,931 ตร.ไมล์)
การไหล for นครสวรรค์
 - เฉลี่ย 718 m3/s (25,356 cu ft/s)
 - สูงสุด 5,960 m3/s (210,475 cu ft/s)
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

ข้อมูลทางภูมิศาสตร์

จุดเริ่มของแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ โดยการรวมของแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยามีพื้นที่ 20,125 ตารางกิโลเมตร (ไม่รวมลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน สะแกกรัง ป่าสัก และท่าจีน)[1] และมีความยาวถึง 372 กิโลเมตร โดยแยกออกเป็นแม่น้ำท่าจีนที่จังหวัดชัยนาท

การขุดลัดแม่น้ำ

แผนที่การขุดลัดแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งสามครั้งในสมัยอยุธยา เส้นสีน้ำเงินคือแนวแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม เส้นสีเขียวคือแนวคลองลัด

การขุดลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในบริเวณกรุงเทพมหานคร ทั้ง 3 ครั้งในสมัยอยุธยา ซึ่งประกอบด้วย

  1. คลองลัดบางกอก พ.ศ. 2065[2] รัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช
  2. คลองลัดบางกรวย พ.ศ. 2081 รัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
  3. คลองลัดนนทบุรี พ.ศ. 2179 รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

ล่าสุดมีการขุดลอกคลองลัดโพธิ์ บริเวณตำบลทรงคะนองและตำบลบางยอ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อช่วยในการระบายน้ำและผลิตกระแสไฟฟ้า

ลำน้ำสาขา

ด้วยความที่แม่น้ำเจ้าพระยามีความสำคัญเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของภาคกลาง ทั้งในด้านการเดินทางและวิถีชีวิต นอกจากจะมีการสร้างสะพานและท่าน้ำจำนวนมากแล้ว ยังมีลำน้ำสาขา คลองธรรมชาติ และคลองขุด ซึ่งเชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยากับพื้นที่ภายใน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ โดยลำน้ำสาขาและคลองมีจำนวนมาก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้

ต้นน้ำ

ต้นน้ำซึ่งได้ไหลมาลงยังแม่น้ำเจ้าพระยาประกอบด้วย

ลำน้ำสาขาฝั่งซ้าย

ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม สัญจร ทัศนาจร และท่องเที่ยว ใช้เป็นเส้นทางขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำล้างภาชนะ ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและวิถีชีวิต ใช้ทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และ ทำประมง ใช้อุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้า และระบายน้ำ ลำน้ำสาขาทั้งคลองธรรมชาติและคลองขุดในฝั่งขวาหรือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย

จังหวัดชัยนาท

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ลำน้ำสาขาฝั่งขวา

ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม สัญจร ทัศนาจร และท่องเที่ยว ใช้เป็นเส้นทางขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำล้างภาชนะ ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและวิถีชีวิต ใช้ทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และ ทำประมง ใช้อุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้า และระบายน้ำ ลำน้ำสาขาทั้งคลองธรรมชาติและคลองขุดในฝั่งซ้ายหรือฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ท่าน้ำ

แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางคมนาคมอีกเส้นทางสำหรับคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จึงทำให้มีการสร้างท่าน้ำจำนวนมากเพื่อรองรับการขนส่งทางน้ำ โดยท่าน้ำในการเดินเรือโดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีดังนี้[3]

สถานที่สำคัญที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ

จังหวัดชัยนาท

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

การนำน้ำผลิตน้ำประปา

แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแหล่งผลิตน้ำประปาสำคัญของการประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ภาคกลาง ส่วนเขตจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ รับผิดชอบโดยการประปานครหลวง โดยมีสถานีสูบน้ำดิบวัดสำแล ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกระแชง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ลุ่มน้ำเจ้าพระยา กรมชลประทาน
  2. การบันทึกน่าจะคลาดเคลื่อน เพราะในปีนั้น สมเด็จพระไชยราชาธิราย ยังไม่ขึ้นครองราชย์
  3. https://www.md.go.th/stat/index.php/transport-information/item/424
  4. http://web.rid.go.th/lproject/const/project/completed%20project/chaopraya/chaopraya.html
  5. https://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2552&Itemid=117
  • จารุภัทร วิมุตเศรษฐ์. สะพานข้ามเจ้าพระยา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร. 2553.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°32′25″N 100°35′23″E / 13.54028°N 100.58972°E / 13.54028; 100.58972