ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีสนามไชย"

พิกัด: 13°44′38″N 100°29′38″E / 13.744°N 100.494°E / 13.744; 100.494
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Itpcc (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มภาพชานชลากับทางออก
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560 แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32: บรรทัด 32:


== การออกแบบ ==
== การออกแบบ ==
[[File:MRT Sanamchai inside.jpg|thumb|ภายในสถานี]]
ที่ตั้งของสถานีสนามไชยเป็นสถานีแห่งเดียวในโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีตัวสถานีอยู่ใจกลางพื้นที่ชั้นในของ[[เกาะกรุงรัตนโกสินทร์]] ภายในขอบเขตระหว่าง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[คลองคูเมืองเดิม]] (นอกเหนือจาก[[สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)|สถานีสนามหลวง]] ของส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร]] ซึ่งมีทางเข้า-ออกสถานีที่เชื่อมต่อกับท้องสนามหลวงอยู่ในขอบเขตพื้นที่ดังกล่าว) จึงทำให้การวางแผนก่อสร้างเส้นทางและตัวสถานีสนามไชยเป็นที่จับตามองจากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากหลายฝ่ายกังวลว่าโครงสร้างระบบรถไฟฟ้าจะส่งผลกระทบต่อชั้นน้ำใต้ดินและความมั่นคงของโครงสร้างโบราณสถานที่สำคัญใกล้เคียง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพนฯ และ[[พระบรมมหาราชวัง]] นอกจากนี้เพื่อรักษาทัศนียภาพของเมืองและเพื่อลดผลกระทบในระหว่างการก่อสร้าง จึงจำเป็นต้องเลือกวิธีการก่อสร้างเส้นทางแบบไม่เปิดหน้าดิน
ที่ตั้งของสถานีสนามไชยเป็นสถานีแห่งเดียวในโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีตัวสถานีอยู่ใจกลางพื้นที่ชั้นในของ[[เกาะกรุงรัตนโกสินทร์]] ภายในขอบเขตระหว่าง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และ[[คลองคูเมืองเดิม]] (นอกเหนือจาก[[สถานีสนามหลวง (รถไฟฟ้าสายสีส้ม)|สถานีสนามหลวง]] ของส่วนต่อขยาย[[รถไฟฟ้ามหานคร]] ซึ่งมีทางเข้า-ออกสถานีที่เชื่อมต่อกับท้องสนามหลวงอยู่ในขอบเขตพื้นที่ดังกล่าว) จึงทำให้การวางแผนก่อสร้างเส้นทางและตัวสถานีสนามไชยเป็นที่จับตามองจากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากหลายฝ่ายกังวลว่าโครงสร้างระบบรถไฟฟ้าจะส่งผลกระทบต่อชั้นน้ำใต้ดินและความมั่นคงของโครงสร้างโบราณสถานที่สำคัญใกล้เคียง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพนฯ และ[[พระบรมมหาราชวัง]] นอกจากนี้เพื่อรักษาทัศนียภาพของเมืองและเพื่อลดผลกระทบในระหว่างการก่อสร้าง จึงจำเป็นต้องเลือกวิธีการก่อสร้างเส้นทางแบบไม่เปิดหน้าดิน


ทางขึ้น-ลง ได้ตัดหลังคาออกไปเพื่อมิให้บดบังทัศนียภาพของ[[มิวเซียมสยาม]] การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และผู้รับเหมาก่อสร้าง จึงตกลงกันที่จะก่อสร้างทางออกในรูปแบบดังกล่าว โดยระหว่างการก่อสร้างได้มีการเพิ่มบ่อพักน้ำฝนและเพิ่มท่อระบายน้ำบริเวณที่เป็นโซนพื้นที่กลางแจ้งของสถานี รวมถึงได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนแบบใช้งานกลางแจ้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้ารั่วหรือลัดวงจรแก่ผู้มาใช้บริการ
ทางขึ้น-ลงที่ 1 ได้ตัดหลังคาออกไปเพื่อมิให้บดบังทัศนียภาพของ[[มิวเซียมสยาม]] การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และผู้รับเหมาก่อสร้าง จึงตกลงกันที่จะก่อสร้างทางออกในรูปแบบดังกล่าว โดยระหว่างการก่อสร้างได้มีการเพิ่มบ่อพักน้ำฝนและเพิ่มท่อระบายน้ำบริเวณที่เป็นโซนพื้นที่กลางแจ้งของสถานี รวมถึงได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนแบบใช้งานกลางแจ้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้ารั่วหรือลัดวงจรแก่ผู้มาใช้บริการ


การออกแบบภายใน มีรูปแบบ[[สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์|สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น]] ออกแบบโดย รศ.ดร. [[ภิญโญ สุวรรณคีรี]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] สาขาทัศนศิลป์ ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลปิดทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือน ปิด[[ทองคำเปลว]]<ref>[http://www.tnamcot.com/content/307251 สถานีสนามไชย สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสวยที่สุดในไทย]</ref> นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการ แสดงวัตถุโบราณที่ขุดพบ เช่น ฐานรากของพระราชวังของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี]]
การออกแบบภายใน มีรูปแบบ[[สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์|สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น]] ออกแบบโดย รศ.ดร. [[ภิญโญ สุวรรณคีรี]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] สาขาทัศนศิลป์ ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลปิดทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือน ปิด[[ทองคำเปลว]]<ref>[http://www.tnamcot.com/content/307251 สถานีสนามไชย สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสวยที่สุดในไทย]</ref> นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการ แสดงวัตถุโบราณที่ขุดพบ เช่น ฐานรากของพระราชวังของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี]]
บรรทัด 73: บรรทัด 74:
== รายละเอียดสถานี ==
== รายละเอียดสถานี ==
==== รูปแบบของสถานี ====
==== รูปแบบของสถานี ====
[[File:MRT Sanamchai platform Thonburi side.jpg|thumb|ชานชลาไปฝั่งธนบุรี (สถานีหลักสอง)]]
เป็นชานชาลาแบบเกาะกลาง (Station with Central Platform) โดยชั้นออกบัตรโดยสารตกแต่งโดยใช้สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดย[[ภิญโญ สุวรรณคีรี|รองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี]]
เป็นชานชาลาแบบเกาะกลาง (Station with Central Platform) โดยชั้นออกบัตรโดยสารตกแต่งโดยใช้สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดย[[ภิญโญ สุวรรณคีรี|รองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี]]


==== ทางเข้า-ออกสถานี ====
==== ทางเข้า-ออกสถานี ====
[[File:Museum Siam building (View from MRT Sanamchai train station entrance).jpg|thumb|อาคาร[[มิวเซียมสยาม]]: มองจากทางเข้าสถานีรถไฟฟ้า MRT สนามไชย]]
[[File:Museum Siam building (View from MRT Sanamchai train station entrance).jpg|thumb|อาคาร[[มิวเซียมสยาม]]: มองจากทางเข้าสถานีรถไฟฟ้า MRT สนามไชย]]
[[File:MRT Sanamchai entrance 2.jpg|thumb|ทางเข้า 2]]
[[File:MRT Sanamchai entrance 3.jpg|thumb|ทางเข้า 3]]
[[File:MRT Sanamchai exit sign for entrance 4 and 5.jpg|thumb|ป้ายทางออกไปทางเข้า 4 และ 5]]
[[File:MRT Sanamchai roof pattern.jpg|thumb|ลายไทยบนหลังคาทางเข้าที่ 2]]
* '''1''' มิวเซียม สยาม (บริเวณพระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และวัดโพธิ์)
* '''1''' มิวเซียม สยาม (บริเวณพระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และวัดโพธิ์)
* '''2''' โรงเรียนวัดราชบพิธ
* '''2''' โรงเรียนวัดราชบพิธ
บรรทัด 84: บรรทัด 90:


==== การจัดพื้นที่ในตัวสถานี ====
==== การจัดพื้นที่ในตัวสถานี ====
[[File:MRT Sanamchai vending machines.jpg|thumb|เครื่องจำหน่ายตั๋ว]]
แบ่งเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย
แบ่งเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย
* '''1''' ชั้นระหว่างระดับถนน กับ ชั้นออกบัตรโดยสาร
* '''1''' ชั้นระหว่างระดับถนน กับ ชั้นออกบัตรโดยสาร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:34, 4 สิงหาคม 2562

แม่แบบ:BMCL infobox

สถานีสนามไชย (อังกฤษ: Sanam Chai Station, รหัส BL31) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล โดยเป็นสถานีเดียวในระบบรถไฟฟ้าใต้ดินที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางพื้นที่อนุรักษ์เกาะรัตนโกสินทร์ ในแนวถนนสนามไชย กรุงเทพมหานคร บริเวณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นเส้นทางต่อเนื่องจากสถานีหัวลำโพง ผ่านพื้นที่เมืองเก่าก่อนลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณปากคลองตลาด ไปยังฝั่งธนบุรี และยกระดับขึ้นสู่สถานีท่าพระต่อไป

สถานีตั้งอยู่ด้านล่างถนนสนามไชย ด้านทิศเหนือของแยกสะพานเจริญรัช 31 หรือปากคลองตลาด (จุดบรรจบถนนสนามไชย, ถนนมหาราช, ถนนราชินี, ถนนอัษฎางค์ และถนนจักรเพชร) บริเวณด้านหน้าโรงเรียนวัดราชบพิธ, มิวเซียมสยาม และด้านหลังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

การออกแบบ

ภายในสถานี

ที่ตั้งของสถานีสนามไชยเป็นสถานีแห่งเดียวในโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีตัวสถานีอยู่ใจกลางพื้นที่ชั้นในของเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในขอบเขตระหว่างแม่น้ำเจ้าพระยา และคลองคูเมืองเดิม (นอกเหนือจากสถานีสนามหลวง ของส่วนต่อขยายรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งมีทางเข้า-ออกสถานีที่เชื่อมต่อกับท้องสนามหลวงอยู่ในขอบเขตพื้นที่ดังกล่าว) จึงทำให้การวางแผนก่อสร้างเส้นทางและตัวสถานีสนามไชยเป็นที่จับตามองจากคณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากหลายฝ่ายกังวลว่าโครงสร้างระบบรถไฟฟ้าจะส่งผลกระทบต่อชั้นน้ำใต้ดินและความมั่นคงของโครงสร้างโบราณสถานที่สำคัญใกล้เคียง โดยเฉพาะวัดพระเชตุพนฯ และพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้เพื่อรักษาทัศนียภาพของเมืองและเพื่อลดผลกระทบในระหว่างการก่อสร้าง จึงจำเป็นต้องเลือกวิธีการก่อสร้างเส้นทางแบบไม่เปิดหน้าดิน

ทางขึ้น-ลงที่ 1 ได้ตัดหลังคาออกไปเพื่อมิให้บดบังทัศนียภาพของมิวเซียมสยาม การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และผู้รับเหมาก่อสร้าง จึงตกลงกันที่จะก่อสร้างทางออกในรูปแบบดังกล่าว โดยระหว่างการก่อสร้างได้มีการเพิ่มบ่อพักน้ำฝนและเพิ่มท่อระบายน้ำบริเวณที่เป็นโซนพื้นที่กลางแจ้งของสถานี รวมถึงได้มีการติดตั้งบันไดเลื่อนแบบใช้งานกลางแจ้งเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้ารั่วหรือลัดวงจรแก่ผู้มาใช้บริการ

การออกแบบภายใน มีรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดย รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นท้องพระโรงในสมัยรัตนโกสินทร์ มีการประดับด้วยเสาสดุมภ์ ที่ตั้งตระหง่านอยู่ระหว่างทางเดิน ลงลายกระเบื้องเป็นดอกพิกุล ปลายเสาประดับด้วยบัวจงกลปิดทองคำเปลว พื้นและผนังจำลองมาจากกำแพงเมือง ประดับด้วยเสาเสมาของพระบรมมหาราชวัง เพดานเป็นลายฉลุแบบดาวล้อมเดือน ปิดทองคำเปลว[1] นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการ แสดงวัตถุโบราณที่ขุดพบ เช่น ฐานรากของพระราชวังของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี

ระบบปรับอากาศ ไว้ด้านข้างแทนการวางด้านบน ทำให้สถานีนี้มีเพดานสูงกว่าสถานีอื่น[2]

ขุดพบวัตถุโบราณ

ในช่วงการก่อสร้าง ผู้รับเหมาคือ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) ได้มีการขุดเจอวัตถุโบราณในชั้นดินเป็นจำนวนมาก อาทิ ตุ๊กตาดินเผา ถ้วย ชาม กระเบื้องดินเผา สมัยพุทธศตวรรษที่ 24–25 ทั้งภาษาไทยและภาษาจีน ปืนโลหะ ความยาว 14.5 ซม. สลักวลีว่า MEMENTO MORI ซึ่งมีความหมายว่า Remember you will die นอกจากนั้นยังพบเหรียญโลหะสมัยรัชกาลที่ 4-5 เช่น เหรียญโลหะวงกลม มีตราจักร มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะวงกลม พิมพ์อักษรสยามรัฐ มูลค่า 1 สตางค์ เหรียญโลหะ มีตรามหามงกุฎ อีกด้านพิมพ์ลายจักรภายในมีช้าง เป็นต้น ยังขุดพบ คลองราก หรือฐานรากโครงสร้างพระราชวังโบราณ ทำให้ทราบวิธีการก่อสร้างพระราชวังโบราณ[3] การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและผู้รับเหมาจึงได้ดำเนินการส่งมอบวัตถุโบราณให้กรมศิลปากร และมิวเซียมสยาม นำไปเก็บรักษาและสืบหาที่มาของวัตถุ พร้อมทั้งปรับแบบของสถานีสนามไชยให้มีพื้นที่จัดแสดงวัตถุโบราณก่อนลงไปยังพื้นที่ของสถานี[4]

แผนผังสถานี

G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, มิวเซี่ยมสยาม, โรงเรียนวัดราชบพิธ
โรงเรียนราชินี, สน.พระราชวัง, ปากคลองตลาด
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
B1
ทางเดินระหว่างชั้นระดับถนน กับ ชั้นขายตั๋วโดยสาร
ชั้น Subway ชั้นแสดงวัตถุโบราณ ที่ถูกค้นพบระหว่างการก่อสร้างสถานี
B2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร , ทางเดินลอดถนน ,ทางออก 1-5
B3
ทางเดินระหว่างชั้นขายบัตรโดยสาร กับ ชั้นชานชาลา
ชั้น Plant ชั้นคั่นกลาง ระหว่างชั้นขายบัตรโดยสาร กับ ชั้นชานชาลา
B4
ชานชาลา
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีเตาปูน (ผ่าน สถานีหัวลำโพง)
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านขวา
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีท่าพระ

รายละเอียดสถานี

รูปแบบของสถานี

ชานชลาไปฝั่งธนบุรี (สถานีหลักสอง)

เป็นชานชาลาแบบเกาะกลาง (Station with Central Platform) โดยชั้นออกบัตรโดยสารตกแต่งโดยใช้สถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ออกแบบโดยรองศาสตราจารย์ ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี

ทางเข้า-ออกสถานี

อาคารมิวเซียมสยาม: มองจากทางเข้าสถานีรถไฟฟ้า MRT สนามไชย
ทางเข้า 2
ทางเข้า 3
ป้ายทางออกไปทางเข้า 4 และ 5
ลายไทยบนหลังคาทางเข้าที่ 2
  • 1 มิวเซียม สยาม (บริเวณพระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และวัดโพธิ์)
  • 2 โรงเรียนวัดราชบพิธ
  • 3 สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง
  • 4 ปากคลองตลาด
  • 5 ท่าเรือราชินี, โรงเรียนราชินี

การจัดพื้นที่ในตัวสถานี

เครื่องจำหน่ายตั๋ว

แบ่งเป็น 4 ชั้น ประกอบด้วย

  • 1 ชั้นระหว่างระดับถนน กับ ชั้นออกบัตรโดยสาร
  • 2 ชั้นออกบัตรโดยสาร และ ทางเดินลอดถนน
  • 3 ชั้นระหว่างชั้นออกบัตรโดยสาร กับ ชั้นชานชาลา
  • 4 ชั้นชานชาลา

รถโดยสารประจำทาง

  • ถนนสนามไชย หน้ามิวเซี่ยมสยาม สาย 3 44 47 48 524
  • ถนนสนามไชย หน้าสวนเจ้าเชตุ สาย 3 6 9 12
  • ถนนมหาราช สาย 9(มุ่งหน้าสถานีรถไฟสามเสน) 47(มุ่งหน้าท่าเรือคลองเตย) 53(วนขวา) 82(มุ่งหน้าบางลำพู) 524(มุ่งหน้าบางเขน)
  • ถนนอัษฎางค์ สาย 8 12 42(วนซ้าย) 73 73ก.

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

อ้างอิง

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีอิสรภาพ
มุ่งหน้า สถานีบางหว้า
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีสามยอด
มุ่งหน้า สถานีเตาปูน

13°44′38″N 100°29′38″E / 13.744°N 100.494°E / 13.744; 100.494