ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร่างแหเอนโดพลาซึม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
''ภาพกล้องจุลทรรศน์ของเครือข่ายร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระรอบ[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส] (แสดงอยู่ฝั่งขวาล่างของภาพ) วงกลมดำเล็กในเครือข่าย คือ [ไมโทคอนเดรีย]
[[ไฟล์:Clara cell lung - TEM.jpg|thumb|300px|ภาพกล้องจุลทรรศน์ของเครือข่ายร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระรอบ[[นิวเคลียสเซลล์|นิวเคลียส]] (แสดงอยู่ฝั่งขวาล่างของภาพ) วงกลมดำเล็กในเครือข่าย คือ [[ไมโทคอนเดรีย]]]]

''ร่างแหเอนโดพลาซึม'' หรือ ''เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม'' ({{lang-en|endoplasmic reticulum, ER}}) เป็น[ออร์แกเนลล์]ชนิดหนึ่งของซึม[
''ร่างแหเอนโดพลาซึม'' หรือ ''เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม'' ({{lang-en|endoplasmic reticulum, ER}}) เป็น[ออร์แกเนลล์]ชนิดหนึ่งของ[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]สิ่งมีชีวิต[ยูแคริโอต]ซึ่งก่อเครือข่ายถุงหรือท่อแบนมีเยื่อหุ้มติดต่อระหว่างกัน เรียก ซิสเทอร์นี (cisternae) เยื่อของ ER ต่อเนื่องกับเยื่อชั้นนอกของ[เยื่อหุ้มนิวเคลียส] ร่างแหเอนโดพลาซึมเกิดในเซลล์ยูแคริโอตหรือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ส่วนใหญ่ รวมถึง[จีอาเดีย]ที่เก่าแก่สุด แต่ไม่พบใน[เม็ดเลือดแดง]และตัวอสุจิ มีร่างแหเอนโดพลาซึมสองชนิด คือ ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระ (RER) และร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบ (SER) ผิวนอก (ไซโทโซลิก) ของร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระมี[ไรโบโซม]อยู่กระจายซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์[โปรตีน] ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระโดดเด่นเป็นพิเศษในเซลล์อย่าง[เซลล์ตับ]ซึ่งร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบกัมมันต์ไม่มีไรโบซึมและทำหน้าที่ใน[เมแทบอลิซึม][ลิพิด] เมแทบอลิซึม[คาร์โบไฮเดรต] และการขจัดพิษ และพบมากเป็นพิเศษใน[ตับ]และเซลล์[ต่อมบ่งเพศ]ของ[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]
'''ร่างแหเอนโดพลาซึม''' หรือ '''เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม''' ({{lang-en|endoplasmic reticulum, ER}}) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ชนิดหนึ่งของ[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]]สิ่งมีชีวิต[[ยูแคริโอต]]ซึ่งก่อเครือข่ายถุงหรือท่อแบนมีเยื่อหุ้มติดต่อระหว่างกัน เรียก ซิสเทอร์นี (cisternae) เยื่อของ ER ต่อเนื่องกับเยื่อชั้นนอกของ[[เยื่อหุ้มนิวเคลียส]] ร่างแหเอนโดพลาซึมเกิดในเซลล์ยูแคริโอตส่วนใหญ่ รวมถึง[[จีอาเดีย]]ที่เก่าแก่สุด แต่ไม่พบใน[[เม็ดเลือดแดง]]และตัวอสุจิ มีร่างแหเอนโดพลาซึมสองชนิด คือ ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระ (RER) และร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบ (SER) ผิวนอก (ไซโทโซลิก) ของร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระมี[[ไรโบโซม]]อยู่กระจายซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์[[โปรตีน]] ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระโดดเด่นเป็นพิเศษในเซลล์อย่าง[[เซลล์ตับ]]ซึ่งร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบกัมมันต์ไม่มีไรโบซึมและทำหน้าที่ใน[[เมแทบอลิซึม]][[ลิพิด]] เมแทบอลิซึม[[คาร์โบไฮเดรต]] และการขจัดพิษ และพบมากเป็นพิเศษใน[[ตับ]]และเซลล์[[ต่อมบ่งเพศ]]ของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]


== ชนิด ==
== ชนิด ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:44, 1 สิงหาคม 2562

ภาพกล้องจุลทรรศน์ของเครือข่ายร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระรอบนิวเคลียส (แสดงอยู่ฝั่งขวาล่างของภาพ) วงกลมดำเล็กในเครือข่าย คือ ไมโทคอนเดรีย

ร่างแหเอนโดพลาซึม หรือ เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม (อังกฤษ: endoplasmic reticulum, ER) เป็นออร์แกเนลล์ชนิดหนึ่งของเซลล์สิ่งมีชีวิตยูแคริโอตซึ่งก่อเครือข่ายถุงหรือท่อแบนมีเยื่อหุ้มติดต่อระหว่างกัน เรียก ซิสเทอร์นี (cisternae) เยื่อของ ER ต่อเนื่องกับเยื่อชั้นนอกของเยื่อหุ้มนิวเคลียส ร่างแหเอนโดพลาซึมเกิดในเซลล์ยูแคริโอตส่วนใหญ่ รวมถึงจีอาเดียที่เก่าแก่สุด แต่ไม่พบในเม็ดเลือดแดงและตัวอสุจิ มีร่างแหเอนโดพลาซึมสองชนิด คือ ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระ (RER) และร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบ (SER) ผิวนอก (ไซโทโซลิก) ของร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระมีไรโบโซมอยู่กระจายซึ่งเป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน ร่างแหเอนโดพลาซึมขรุขระโดดเด่นเป็นพิเศษในเซลล์อย่างเซลล์ตับซึ่งร่างแหเอนโดพลาซึมเรียบกัมมันต์ไม่มีไรโบซึมและทำหน้าที่ในเมแทบอลิซึมลิพิด เมแทบอลิซึมคาร์โบไฮเดรต และการขจัดพิษ และพบมากเป็นพิเศษในตับและเซลล์ต่อมบ่งเพศของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ชนิด

ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบขรุขระ

ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบขรุขระ (rough endoplasmic reticulum : RER) เป็นชนิดที่มี ไรโบโซมเกาะ หน้าที่ การสังเคราะห์โปรตีน ของไรโบโซมที่เกาะอยู่ โดยมีกอลจิบอดี (golgi body) เป็นตัวสะสม หรือทำให้มีขนาดพอเหมาะ ที่ส่งออกนอกเซลล์ ลำเลียงสาร ซึ่งได้แก่ โปรตีน ที่สร้างได้ และสารอื่นๆ เช่น ลิพิดชนิดต่างๆ ในเซลล์ที่เกิดใหม่ พบว่ามี RER มากกว่า SER แต่เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น พบว่า SER มากกว่า RER เชื่อกันว่า RER จะเปลี่ยนเป็น SER เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น พบในตับอ่อน ลำไส้เล็ก ต่อมใต้สมอง มีการลำเลียงแบบ intracellular transport

ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบเรียบ

ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบเรียบ (smooth endoplasmic reticulum : SER) เป็นชนิดที่ไม่มี ไรโบโซมเกาะ พบมากในเซลล์ที่มีหน้าที่กำจัดสารพิษ และสร้างสารสเตอรอยด์ จึงพบในเซลล์ที่ต่อมหมวกไต เซลล์แทรกของเลย์ดิกในอัณฑะ เซลล์คอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ และในเซลล์ของตับ และยังทำหน้าที่ คือ ลำเลียงสารต่างๆ เช่น RNA ไขมัน โปรตีน เนื่องจากผนังของ ER ยอมให้สารประกอบโมเลกุลใหญ่บางชนิด รวมทั้ง ไขมัน เอนไซม์ และโปรตีนผ่านเข้าออกได้ จึงเป็นทางผ่านของสาร และเกลือแร่เข้าไปกระจายทั่วเซลล์ รวมทั้งสารต่างๆ ยังอาจสะสมไว้ใน ER อีกด้วย และการขับของเสีย ออกจากเซลล์ โดยผ่านทาง ER เรียกว่า เอกโซไซโทซิส (exocytosis)

ซาโคพลาสมิกเรติคิวลัม

เส้นใยกล้ามเนื้อ SR แสดงด้วยสีน้ำเงิน

ซาโคพลาสมิกเรติคิวลัม (sarcoplasmic reticulum : SR) มาจากศัพท์ภาษากรีก sarx แปลว่าเนื้อ เป็นรูปแบบพิเศษของ ER แบบเรียบ พบในเซล์ของกล้ามเนื้อลาย องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ SR ต่างจาก ER แบบเรียบ คือ การจัดเรียงตัวของโปรตีนในรูปแบบที่เป็นระเบียบที่พบได้ใน SR SR นี้ทำหน้าที่เก็บไอออนแคลเซียมและขับออกสู่ซาร์โคพลาซึมเมื่อเส้นใยในกล้ามเนื้อถูกกระตุ้น[1][2] แคลเซียมนี้จะไปจับกับคอนแทรกไทล์โปรตีนซึ่งใช้พลังงาน ATP เพื่อทำให้กล้ามเนื้อหดตัว[3]

อ้างอิง

  1. Toyoshima C, Nakasako M, Nomura H, Ogawa H (2000). "Crystal structure of the calcium pump of sarcoplasmic reticulum at 2.6 A resolution". Nature. 405 (6787): 647–55. doi:10.1038/35015017. PMID 10864315.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Medical Cell Biology 3rd/ed. Academic Press. p. 69.
  3. Martini, Frederick; Nath, Judi; Bartholomew, Edwin (2014). Fundamentals of Anatomy and Physiology (10th ed.). ISBN 978-0321909077.

แหล่งข้อมูลอื่น