ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมมารดาอ่วม ในรัชกาลที่ 5"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''เจ้าจอมมารดาอ่วม''' ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่าง[[กรุงเทพฯ]] - [[สิงคโปร์]] ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม ''"สมบัติศิริ"'') ท่านเกิดเมื่อวันที่ [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2399]]<ref>เจฟฟี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ:พิษณุโลกการพิมพ์. 2532</ref> มีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน คือ
'''เจ้าจอมมารดาอ่วม''' ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นพระปัยยิกา(ทวด) ใน [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]]
== บุตร-ธิดาแก้ไข ==
เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่าง[[กรุงเทพฯ]] - [[สิงคโปร์]] ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม ''"สมบัติศิริ"'') ท่านเกิดเมื่อวันที่ [[10 เมษายน]] [[พ.ศ. 2399]]<ref>เจฟฟี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ:พิษณุโลกการพิมพ์. 2532</ref> มีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน คือ


# หลวงสาทรราชายุตก์ (เจ้าสัวยม พิศลยบุตร)
# หลวงสาทรราชายุตก์ (เจ้าสัวยม พิศลยบุตร)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:08, 1 สิงหาคม 2562

เจ้าจอมมารดาอ่วม
ในรัชกาลที่ 5
เกิดอ่วม พิศลยบุตร
10 เมษายน พ.ศ. 2399
เสียชีวิต26 เมษายน พ.ศ. 2434
คู่สมรสพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บุตรพระองค์เจ้าชายกิติยากรวรลักษณ์
บุพการีพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร)
ปราง พิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (สกุลเดิม สมบัติศิริ)

เจ้าจอมมารดาอ่วม ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของพระยาพิสณฑ์สมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม พิศลยบุตร) เป็นพระปัยยิกา(ทวด) ใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

บุตร-ธิดาแก้ไข

เป็นเจ้าของเรือกลไฟชื่อ "เจ้าพระยา" เดินทางระหว่างกรุงเทพฯ - สิงคโปร์ ซึ่งเป็นเพียงลำเดียวในสมัยนั้น มารดาชื่อ "ปราง" (สกุลเดิม "สมบัติศิริ") ท่านเกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2399[1] มีน้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน คือ

  1. หลวงสาทรราชายุตก์ (เจ้าสัวยม พิศลยบุตร)
  2. เจ้าจอมเอม (พิศลยบุตร) ใน ร.5
  3. เจ้าจอมช่วง (พิศลยบุตร) ใน ร.5
  4. หม่อมลมุล (พิศลยบุตร) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
  5. หม่อมหุ่น (พิศลยบุตร) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์
  6. หม่อมศรี (พิศลยบุตร) ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

เมื่อท่านมีอายุได้ 17-18 ปี ขณะนั้นเป็นช่วงต้นรัชกาลที่ 5 บ้านของท่านอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อกระบวนพยุหยาตราชลมารคผ่านเสด็จครั้งใด เจ้าจอมและน้องชายก็ดูหน้าต่างเพื่อชมพระบารมีเสมอ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นพักตร์รูปร่างหน้าตาของเจ้าจอม จึงทรงรับมาเป็นเจ้าจอมในพระองค์ท่านก็ได้ถวายตัวรับใช้พระเจ้าอยู่หัวนับตั้งแต่นั้นมา

ท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ

เจ้าจอมมารดาอ่วมมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง เจ็บป่วยเรื่อยมาหลังจากประสูติพระราชโอรส และในที่สุดท่านก็ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2434

อ้างอิง

  1. เจฟฟี่ ไฟน์สโตน. จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ:พิษณุโลกการพิมพ์. 2532
  • สาระ มีผลกิจ. ราชสำนักฝ่ายในสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส, 2551. 296 หน้า. ISBN 9744516817 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
  • ส.พลายน้อย. พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์, ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2554. 368 หน้า. ISBN 9786167058580