ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฒ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 112.203.241.132 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Nullzerobot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{อักษรไทย1|ฒ}}
{{อักษรไทย1|ฒ}}
'''ฒ''' (ผู้เฒ่า) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 18 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ฑ]] (มณโฑ) และก่อนหน้า [[ณ]] (เณร) ออกเสียงอย่าง ท (ทหาร) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฒ ผู้เฒ่า”
'''ฒ''' (ผู้เฒ่า) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 18 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ฑ]] (มณโฑ) และก่อนหน้า [[ณ]] (เณร) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฒ ผู้เฒ่า”


ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฒ อยู่คำเดียวคือ เฒ่า นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]]หรือ[[สันสกฤต]] ส่วนคำว่า "เถ้าแก่" เป็นคำยืมจากภาษาแต้จิ๋ว (頭家) แปลว่านายทุนใหญ่ ไม่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุแต่อย่างใด
อักษร ฒ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /tʰ/ และ[[พยัญชนะสะกด]] ให้เสียง /t̚/


== เสียง ==
ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฒ อยู่คำเดียวคือ เฒ่า นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]]หรือ[[สันสกฤต]]
อักษร "ฒ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ढ" ในภาษาบาลีสันสกฤตเป็นเสียง [[เสียงกัก ปลายลิ้นม้วน ก้อง|คล้าย "ด" แต่พ่นลมและม้วนลิ้น]] {{IPA|/ɖʰ/}}

แต่ภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ พยัญชนะต้นให้เสียง [[เสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|/tʰ/]] และพยัญชนะตัวสะกดให้เสียง [[เสียงกัก ปุ่มเหงือก ก้อง|/t̚/]]


[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:23, 31 กรกฎาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(ผู้เฒ่า) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 18 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (มณโฑ) และก่อนหน้า (เณร) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฒ ผู้เฒ่า”

ปัจจุบันมีคำที่ขึ้นต้นด้วย ฒ อยู่คำเดียวคือ เฒ่า นอกเหนือจากนั้นใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต ส่วนคำว่า "เถ้าแก่" เป็นคำยืมจากภาษาแต้จิ๋ว (頭家) แปลว่านายทุนใหญ่ ไม่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุแต่อย่างใด

เสียง

อักษร "ฒ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ढ" ในภาษาบาลีสันสกฤตเป็นเสียง คล้าย "ด" แต่พ่นลมและม้วนลิ้น /ɖʰ/

แต่ภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ พยัญชนะต้นให้เสียง /tʰ/ และพยัญชนะตัวสะกดให้เสียง /t̚/