ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{อักษรไทย1|ฉ}}
{{อักษรไทย1|ฉ}}
'''ฉ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[จ]] และก่อนหน้า [[ช]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"
'''ฉ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[จ]] และก่อนหน้า [[ช]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"

อักษร ฉ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] แทนเสียง {{IPA|[t͡ɕʰ]}} และ[[พยัญชนะสะกด]] แทนเสียง {{IPA|[t̚]}} (ในทางทฤษฎี)


ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นปัจจัยประกอบคำบาลี
ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นปัจจัยประกอบคำบาลี

== เสียง ==
อักษร "ฉ" ตรงกับตัวเทวนาครี "छ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียง[[เสียงกัก เพดานแข็ง ไม่ก้อง|เสียงกักเพดานแข็งไม่ก้องพ่นลม]] {{IPA|[cʰ]}} แต่[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]มีความผันผวนไปตามภาษาถิ่นหลายที่ตามตารางดังนี้

{| class="wikitable"
!colspan=2| ภาษาถิ่น !! พยัญชนะต้น !! พยัญชนะตัวสะกด !! หมายเหตุ
|-
|colspan=2| ไทยกลางมาตรฐาน || [[เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือกกับเพดานแข็ง ไม่ก้อง|[t͡ɕʰ]]] || [t̚] ||
|-
|colspan=2| ไทยกลางเมืองหลวง || [[เสียงผสมเสียดแทรก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[tsʰ]]] || [t̚] || เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจาก[[ภาษาแต้จิ๋ว]]และ[[ภาษาฮกเกี้ยน]]
|-
|colspan=2| ไทยกลางภาคกลางตอนบน || [t͡ɕʰ] || [t̚] ||
|-
|colspan=2| ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ || [t͡ɕʰ] || [t̚] ||
|-
|colspan=2| ไทยโคราช || [t͡ɕʰ] || [t̚] ||
|-
|rowspan=2| ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ || ไชยา || [t͡ɕʰ] || [c] ||
|-
| ภูเก็ต || [tsʰ] || [c] || เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจาก[[ภาษาฮกเกี้ยน]]
|-
|colspan=2| ไทยใต้มาตรฐาน || [cʰ] || [c] ||
|-
|colspan=2| ไทยใต้ตากใบ || [cʰ] || [c] ||
|-
|}




อักษร ฉ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] แทนเสียง {{IPA|[t͡ɕʰ]}} และ[[พยัญชนะสะกด]] แทนเสียง {{IPA|[t̚]}} (ในทางทฤษฎี)


[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:04, 31 กรกฎาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

เป็นพยัญชนะตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก และก่อนหน้า จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"

ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นปัจจัยประกอบคำบาลี

เสียง

อักษร "ฉ" ตรงกับตัวเทวนาครี "छ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียงเสียงกักเพดานแข็งไม่ก้องพ่นลม [cʰ] แต่ภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้มีความผันผวนไปตามภาษาถิ่นหลายที่ตามตารางดังนี้

ภาษาถิ่น พยัญชนะต้น พยัญชนะตัวสะกด หมายเหตุ
ไทยกลางมาตรฐาน [t͡ɕʰ] [t̚]
ไทยกลางเมืองหลวง [tsʰ] [t̚] เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจากภาษาแต้จิ๋วและภาษาฮกเกี้ยน
ไทยกลางภาคกลางตอนบน [t͡ɕʰ] [t̚]
ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ [t͡ɕʰ] [t̚]
ไทยโคราช [t͡ɕʰ] [t̚]
ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ ไชยา [t͡ɕʰ] [c]
ภูเก็ต [tsʰ] [c] เป็นเสียงพยัญชนะที่มาจากภาษาฮกเกี้ยน
ไทยใต้มาตรฐาน [cʰ] [c]
ไทยใต้ตากใบ [cʰ] [c]



อักษร ฉ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น แทนเสียง [t͡ɕʰ] และพยัญชนะสะกด แทนเสียง [t̚] (ในทางทฤษฎี)