ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฬ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8370100 สร้างโดย 112.203.241.132 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ฬ''' (จุฬา) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 42 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ห]] (หีบ) และก่อนหน้า [[อ]] (อ่าง) ออกเสียงอย่าง ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฬ จุฬา"
'''ฬ''' (จุฬา) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 42 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[ห]] (หีบ) และก่อนหน้า [[อ]] (อ่าง) ออกเสียงอย่าง ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรต่ำ]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฬ จุฬา"


แต่เดิมครั้นสมัยประดิษฐ์อักษร "ฬ" จงใจให้เป็นเสียง /[[เสียงเปิดข้างลิ้น ปุ่มเหงือก|l]]/ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นเสียง /[[เสียงเปิด ปุ่มเหงือก|ɹ]]/ ให้เหมือนกับตัว "ล" ในพยัญชนะต้น และ[[พยัญชนะสะกด]] ให้เสียง /n/ การทับศัพท์ภาษาอังกฤษของภาษาไทยมาตรฐานแทนด้วยตัว "l" ในพยัญชนะต้น และ "n" ในพยัญชนะตัวสะกด
อักษร ฬ เป็นได้ทั้ง[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /l/ และ[[พยัญชนะสะกด]] ให้เสียง /n/


ปัจจุบัน ฬ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]]เท่านั้น (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ เช่น กีฬา นาฬิกา กาฬ วาฬ) คำโบราณที่เคยใช้ ฬ ก็เปลี่ยนไปใช้ ล แทนเช่น
ปัจจุบัน ฬ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]]เท่านั้น (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ เช่น กีฬา นาฬิกา กาฬ วาฬ) คำโบราณที่เคยใช้ ฬ ก็เปลี่ยนไปใช้ ล แทนเช่น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:01, 31 กรกฎาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(จุฬา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 42 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (หีบ) และก่อนหน้า (อ่าง) ออกเสียงอย่าง ล (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฬ จุฬา"

แต่เดิมครั้นสมัยประดิษฐ์อักษร "ฬ" จงใจให้เป็นเสียง /l/ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นเสียง /ɹ/ ให้เหมือนกับตัว "ล" ในพยัญชนะต้น และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/ การทับศัพท์ภาษาอังกฤษของภาษาไทยมาตรฐานแทนด้วยตัว "l" ในพยัญชนะต้น และ "n" ในพยัญชนะตัวสะกด

ปัจจุบัน ฬ ไม่มีที่ใช้เป็นพยัญชนะต้นของคำ มีเพียงใช้ประกอบกับคำที่มาจากภาษาบาลีเท่านั้น (ซึ่งจะปรากฏกลางคำหรือท้ายคำ เช่น กีฬา นาฬิกา กาฬ วาฬ) คำโบราณที่เคยใช้ ฬ ก็เปลี่ยนไปใช้ ล แทนเช่น

  • †ฬา → ลา
  • †ฬ่อ → ล่อ
  • †บาฬี → บาลี
  • †เฬิง → เลิ้ง [1]
  • †ฬส ย่อมาจาก โสฬส

วิธีเขียน

วาดวงกลมแล้วลากเส้นตั้งลงมา ลากเส้นเฉียงไปทางขวาขึ้นและลง ลากเส้นตั้งขึ้น แล้ววาดเส้นโค้งไปทางซ้าย ตวัดลงตัดกับเส้นตั้ง[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. ประวัติชุมชนนางเลิ้ง, คำให้การผู้เชี่ยวชาญวัฒนธรรมท้องถิ่น, สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.