ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตมีนบุรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| flower =
| flower =
| area = 63.645<ref name="ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร">ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. [http://203.155.220.230/Internet/esp/frame.asp สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550.] สืบค้น 20 กันยายน 2552.</ref>
| area = 63.645<ref name="ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร">ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. [http://203.155.220.230/Internet/esp/frame.asp สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550.] สืบค้น 20 กันยายน 2552.</ref>
| population = 142,311<ref>สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. '''สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ''' [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: [http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/ http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/]. สืบค้น 2 มกราคม 2562.</ref>
| population = 142,311<ref>สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php]. สืบค้น 3 มกราคม 2562.</ref>
| population_as_of = 2561
| population_as_of = 2561
| density = 2,236.01
| density = 2,236.01
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| website = http://www.bangkok.go.th/minburi
| website = http://www.bangkok.go.th/minburi
}}
}}
'''เขตมีนบุรี''' เป็น 1 ใน 50 [[เขตการปกครองในกรุงเทพมหานคร|เขตการปกครอง]]ของ[[กรุงเทพมหานคร]] อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก(กลุ่มเขตศรีนครินทร์) สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่
'''เขตมีนบุรี''' เป็นหนึ่งในห้าสิบ[[รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร|เขต]]ของ[[กรุงเทพมหานคร]] สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
บรรทัด 30: บรรทัด 30:


== ที่มาของชื่อเขต ==
== ที่มาของชื่อเขต ==
คำว่ามีนบุรีแปลว่า "เมืองปลา" เป็นนามที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2445]]<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี">สำนักงานเขตมีนบุรี. [http://203.155.220.239/subsite/index.php?strOrgID=001045&strSection=aboutus&intContentID=389 ความเป็นมาของเขตมีนบุรี.] สืบค้น 20 กันยายน 2552.</ref> โดยรวม[[เขตคลองสามวา|อำเภอคลองสามวา]] [[เขตลาดกระบัง|อำเภอแสนแสบ]] [[เขตหนองจอก|อำเภอหนองจอก]] และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อ[[อำเภอธัญบุรี|เมืองธัญญบุรี]]ที่แปลว่า "เมืองข้าว"<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี"/>
คำว่า ''มีนบุรี'' แปลว่า "เมืองปลา" เป็นนามที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2445<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี">สำนักงานเขตมีนบุรี. [http://203.155.220.239/subsite/index.php?strOrgID=001045&strSection=aboutus&intContentID=389 ความเป็นมาของเขตมีนบุรี.] สืบค้น 20 กันยายน 2552.</ref> โดยรวม[[เขตคลองสามวา|อำเภอคลองสามวา]] [[เขตลาดกระบัง|อำเภอแสนแสบ]] [[เขตหนองจอก|อำเภอหนองจอก]] และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อ[[อำเภอธัญบุรี|เมืองธัญญบุรี]]ที่แปลว่า "เมืองข้าว"<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี"/>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ '''[[เขตคลองสามวา|อำเภอคลองสามวา]]''' ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของ[[มณฑลกรุงเทพ]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2445]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า "[[จังหวัดมีนบุรี|เมืองมีนบุรี]]"<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=19|issue=23|pages=464|title=แจ้งความกระทรวงนครบาล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2445/023/464_1.PDF|date=7 กันยายน 2445|language=}}</ref> อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''อำเภอเมือง'''<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี"/> เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้
เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ '''[[เขตคลองสามวา|อำเภอคลองสามวา]]''' ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของ[[มณฑลกรุงเทพ]] ต่อมาใน พ.ศ. 2445 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า "[[จังหวัดมีนบุรี|เมืองมีนบุรี]]"<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=19|issue=23|pages=464|title=แจ้งความกระทรวงนครบาล|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2445/023/464_1.PDF|date=7 กันยายน 2445|language=}}</ref> อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''อำเภอเมือง'''<ref name="สำนักงานเขตมีนบุรี"/> เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้


ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2474]] จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับ[[จังหวัดพระนคร]] เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=48|issue=|pages=576-578|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ ยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/A/576.PDF|date=21 กุมภาพันธ์ 2474|language=}}</ref> เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า '''อำเภอมีนบุรี''' จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นในปี [[พ.ศ. 2498]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=72|issue=74 ง ฉบับพิเศษ|pages=1-2|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลมีนบุรี อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร|http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/074/1.PDF|date=17 กันยายน 2498|language=}}</ref> <!--โอนเอาตำบลแสนแสบจาก[[เขตลาดกระบัง|อำเภอลาดกระบัง]]มาอยู่ในการปกครองของอำเภอมีนบุรีในปี [[พ.ศ. 2500]]--> ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินในปี [[พ.ศ. 2505]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=79|issue=46 ง|pages=1239-1241|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลภายในท้องที่อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2505/D/046/1239.PDF|date=15 พฤษภาคม 2505|language=}}</ref> และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=80|issue=38 ง|pages=1199-1200|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลมีนบุรี จังหวัดพระนคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/D/038/1199.PDF|date=23 เมษายน 2506|language=}}</ref> ในปีถัดมา
ต่อมาใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับ[[จังหวัดพระนคร]] เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=48|issue=|pages=576-578|title=พระบรมราชโองการ ประกาศ ยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/A/576.PDF|date=21 กุมภาพันธ์ 2474|language=}}</ref> เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า '''อำเภอมีนบุรี''' จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นใน พ.ศ. 2498<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=72|issue=74 ง ฉบับพิเศษ|pages=1-2|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลมีนบุรี อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร|http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/074/1.PDF|date=17 กันยายน 2498|language=}}</ref> <!--โอนเอาตำบลแสนแสบจาก[[เขตลาดกระบัง|อำเภอลาดกระบัง]]มาอยู่ในการปกครองของอำเภอมีนบุรีในปี [[พ.ศ. 2500]]--> ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินในปี [[พ.ศ. 2505]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=79|issue=46 ง|pages=1239-1241|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลภายในท้องที่อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2505/D/046/1239.PDF|date=15 พฤษภาคม 2505|language=}}</ref> และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=80|issue=38 ง|pages=1199-1200|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลมีนบุรี จังหวัดพระนคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/D/038/1199.PDF|date=23 เมษายน 2506|language=}}</ref> ในปีถัดมา


อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น '''เขตมีนบุรี''' หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับ[[จังหวัดธนบุรี]]เข้าด้วยกันเป็น[[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี]]และเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น[[กรุงเทพมหานคร]]เมื่อปี [[พ.ศ. 2515]] แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็น[[แขวง]] รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อปี [[พ.ศ. 2540]] ได้มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็น[[เขตคลองสามวา]]<ref name="ตั้งเขตคลองสามวา">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=25-30|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/25.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref> ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 [[ตารางกิโลเมตร]]เศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร
อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น '''เขตมีนบุรี''' หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับ[[จังหวัดธนบุรี]]เข้าด้วยกันเป็น[[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี]]และเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น[[กรุงเทพมหานคร]]เมื่อ พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็น[[แขวง]] รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อ พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็น[[เขตคลองสามวา]]<ref name="ตั้งเขตคลองสามวา">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=114|issue=พิเศษ 108 ง|pages=25-30|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/E/108/25.PDF|date=18 พฤศจิกายน 2540|language=}}</ref> ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 [[ตารางกิโลเมตร]]เศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:04, 28 กรกฎาคม 2562

เขตมีนบุรี
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Min Buri
คำขวัญ: 
เมืองปลา หญ้าดัง จังหวัดเก่า
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตมีนบุรี
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตมีนบุรี
พิกัด: 13°48′50″N 100°44′53″E / 13.81389°N 100.74806°E / 13.81389; 100.74806
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่
 • ทั้งหมด63.645[2] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)
 • ทั้งหมด142,311[1] คน
 • ความหนาแน่น2,236.01 คน/ตร.กม. (5,791.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10510
รหัสภูมิศาสตร์1010
ต้นไม้
ประจำเขต
พิกุล
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 333 ถนนสีหบุรานุกิจ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510
เว็บไซต์http://www.bangkok.go.th/minburi
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตมีนบุรี เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่

ที่ตั้งและอาณาเขต

เขตมีนบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์ 1 (กีบหมู) ลำรางคูคต ซอยหทัยราษฎร์ 29 (โชคอนันต์) ถนนหทัยราษฎร์ ลำรางโต๊ะสุข คลองเจ๊ก ลำรางสามวา คลองสามวา ซอยนิมิตใหม่ 5 (เหมือนสวาท) ถนนนิมิตใหม่ ซอยนิมิตใหม่ 8 (วีแสงชัย) คลองลำบึงไผ่ และคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตหนองจอก มีลำรางข้างซอยราษฎร์อุทิศ 70 คลองแยกคลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำต้นไทร และคลองลำนกแขวกเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตลาดกระบัง มีคลองบึงใหญ่ ลำรางตาทรัพย์ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า คลองตาเสือ ลำรางศาลเจ้า ลำรางคอวัง คลองสองต้นนุ่น และคลองลำนายโสเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตสะพานสูงและเขตคันนายาว มีคลองลาดบัวขาว คลองแสนแสบ และคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต

ที่มาของชื่อเขต

คำว่า มีนบุรี แปลว่า "เมืองปลา" เป็นนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2445[3] โดยรวมอำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเมืองธัญญบุรีที่แปลว่า "เมืองข้าว"[3]

ประวัติ

เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ อำเภอคลองสามวา ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของมณฑลกรุงเทพ ต่อมาใน พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า "เมืองมีนบุรี"[4] อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอเมือง[3] เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้

ต่อมาใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ[5] เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นใน พ.ศ. 2498[6] ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินในปี พ.ศ. 2505[7] และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย[8] ในปีถัดมา

อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อ พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อ พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา[9] ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร

การแบ่งเขตการปกครอง

เขตมีนบุรีแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง โดยใช้ถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกและคลองแสนแสบฝั่งเหนือเป็นเส้นแบ่ง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
มีนบุรี Min Buri
28.459
97,214
45,967
3,415.93
แสนแสบ Saen Saep
35.186
45,097
13,855
1,281.67
ทั้งหมด
63.645
142,311
59,822
2,236.01

ประชากร

ตราสัญลักษณ์ประจำเขต

ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี

ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีปลาตะเพียนสีทองอยู่ตรงกลาง พื้นหลังด้านล่างเป็นพื้นน้ำสีฟ้า มีรวงข้าวสีเขียว สองข้างล้อมรอบด้วยคำว่า สำนักงานเขตมีนบุรี เป็นภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยสื่อความหมายถึงความเป็นเมืองปลา ตามความหมายของชื่อที่ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเมืองมีนบุรีในอดีต และปลาที่ขึ้นชื่อคือปลาตะเพียน[11]

การคมนาคม

ทางสายหลักในพื้นที่เขต ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

การคมนาคมอื่น ๆ

ทางแยกในพื้นที่

โครงการคมนาคมในอนาคต

สถานที่สำคัญในเขตมีนบุรี

พิพิธภัณฑ์

  • พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองมีนบุรี (เรือนไม้สัก ศาลากลางจังหวัดมีนบุรีเดิม)
  • พิพิธภัณฑ์เรือจิ๋ว และอู่เรือจิ๋ว

ตลาดและศูนย์สินค้าชุมชน

  • ตลาดเก่ามีนบุรี
  • ตลาดนัดจตุจักร 2 มีนบุรี (ตลาดสุขาภิบาลเดิม)
  • ตลาดน้ำขวัญ-เรียม

สวนสาธารณะ

  • สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี

สถานที่สำคัญทางศาสนา

  • พระพุทธรังสีสวัสดิรังสรรค์ พระพุทธรูปประจำเมืองมีนบุรี ประดิษฐานอยู่ในซุ้มพระสวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9
  • วัดบางเพ็งใต้
  • วัดบำเพ็ญเหนือ
  • วัดแสนสุข
  • วัดทองสัมฤทธิ์
  • วัดใหม่ลำนกแขวก
  • วัดศรีกุเรชา
  • ศาลเจ้าเจียวตี่เหล่าเอี๊ย
  • มัสยิดอัลฮุดา (คลองสามประเวศ)
  • มัสยิดอิดดฮาดร์อูลูมุดดีน (แสนแสบฝั่งใต้)
  • มัสยิดเราะห์มาตุ้ลอิสลามียะ (บ้านเกาะไผ่เหลือง)
  • มัสยิดซอลีฮุสสลาม (บางชัน)
  • มัสยิดอัลเอียะห์ซาน (ศาลาคู้)
  • มัสยิดอัตตั๊กวา (คลองสองต้นนุ่น)
  • มัสยิดซีรอยุดดีน (บ้านเกาะบัวขาว)
  • มัสยิดอัลบุ๊ชรอ (คลองสี่วังเล็ก)
  • มัสยิดนูรุลฮีดายะห์ (ไผ่เหลือง)
  • มัสยิดนูรุลอิสลาม (คูคต)
  • มัสยิดนูรุ้ลฮูดา (คลองสองต้นนุ่น)
  • มัสยิดกมาลุ้ลเอียะห์ซาน (แสงวิมาน)
  • มัสยิดอันนูรอยน์ (บึงขวาง)
  • มัสยิดอัลมาดานี (มัซกัร)
  • มัสยิดอะห์ลิสซุนนะห์วั้ลยะมาอะห์
  • มัสยิดนูรุ้ลญันนะฮ์

สถานศึกษา

สนามกีฬา

อุตสาหกรรม

  • นิคมอุตสาหกรรมบางชัน (ส่วนเขตมีนบุรี)

อื่น ๆ

  • ศาลจังหวัดมีนบุรี

อ้างอิง

  1. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php. สืบค้น 3 มกราคม 2562.
  2. ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550. สืบค้น 20 กันยายน 2552.
  3. 3.0 3.1 3.2 สำนักงานเขตมีนบุรี. ความเป็นมาของเขตมีนบุรี. สืบค้น 20 กันยายน 2552.
  4. "แจ้งความกระทรวงนครบาล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 19 (23): 464. 7 กันยายน 2445.
  5. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 48: 576–578. 21 กุมภาพันธ์ 2474.
  6. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลมีนบุรี อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร". ราชกิจจานุเบกษา. 72 (74 ง ฉบับพิเศษ): 1–2. 17 กันยายน 2498. {{cite journal}}: ข้อความ "http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/074/1.PDF" ถูกละเว้น (help)
  7. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลภายในท้องที่อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 79 (46 ง): 1239–1241. 15 พฤษภาคม 2505.
  8. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลมีนบุรี จังหวัดพระนคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 80 (38 ง): 1199–1200. 23 เมษายน 2506.
  9. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (พิเศษ 108 ง): 25–30. 18 พฤศจิกายน 2540.
  10. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  11. http://www.bangkok.go.th/minburi/page/sub/3042/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5

แหล่งข้อมูลอื่น