ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การุณ เก่งระดมยิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
การุณ เก่งระดมยิง เป็นบุตรของพลโท[[หลวงกาจสงคราม]] กับคุณหญิงฟองสมุทร เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2461 เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 7 คน สมรสกับคุณ[[ชื่นสุข โลจายะ]] มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน
พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง เป็นบุตรของพลโท พลอากาศโท [[กาจ กาจสงคราม]] กับคุณหญิงฟองสมุทร เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2461 เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 7 คน สมรสกับชื่นสุข โลจายะ มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน


การุณ เก่งระดมยิง ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่[[โรงเรียนเทพศิรินทร์]] [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] แล้วเข้าศึกษาใน[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ก่อนไปศึกษาแผนกวิศวกรรม [[มหาวิทยาลัยไมอามี่]] [[สหรัฐอเมริกา]]
พันเอก (พิเศษ) การุณ ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่[[โรงเรียนเทพศิรินทร์]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] และ[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] แล้วเข้าศึกษาใน[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ก่อนไปศึกษาแผนกวิศวกรรม [[มหาวิทยาลัยไมอามี]] [[สหรัฐ]]


ในระหว่าง[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]] พันเอก (พิเศษ) การุณได้เข้าร่วม[[ขบวนการเสรีไทย]] โดยเป็นเสรีไทยสายอเมริกันรุ่นแรก รหัส "เคน" กระทั่งสงครามสิ้นสุด รัฐบาลสหรัฐได้มอบเหรียญกล้าหาญเป็นเกียรติประวัติ
ในระหว่าง[[สงครามมหาเอเชียบูรพา]] พันเอก (พิเศษ) การุณได้เข้าร่วม[[ขบวนการเสรีไทย]] โดยเป็นเสรีไทยสายอเมริกันรุ่นแรก รหัส "เคน" กระทั่งสงครามสิ้นสุด รัฐบาลสหรัฐได้มอบเหรียญกล้าหาญเป็นเกียรติประวัติ


การุณ เก่งระดมยิง ได้รับทุนรัฐบาล ไปศึกษาต่อด้านวิศวกรรมเครื่องยนต์ มีความชำนาญพิเศษด้านเทคนิคต่างๆ และด้านวิทยุโทรทัศน์ แล้วกลับมารับราชการทหารที่[[กระทรวงกลาโหม]] กระทั่ง[[กองทัพบก]]ได้มอบหมายให้ร.อ.การุณ (ยศขณะนั้น) เป็นผู้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก จส.ของกรมการทหารสื่อสาร ซึ่งเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบกแห่งแรก ติดตั้งเครื่องส่ง ดูแลการออกอากาศ และเป็นโฆษกออกอากาศ ด้วยการเปิดเพลง และอ่านข่าว ต่อมามีการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก แบบขาวดำ และพันเอก (พิเศษ) การุณได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกระบบ และนำระบบโทรทัศน์สี เข้ามาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
พันเอก (พิเศษ) การุณได้รับทุนรัฐบาล ไปศึกษาต่อด้านวิศวกรรมเครื่องยนต์ มีความชำนาญพิเศษด้านเทคนิคต่างๆ และด้านวิทยุโทรทัศน์ แล้วกลับมารับราชการทหารที่[[กระทรวงกลาโหม]] กระทั่ง[[กองทัพบก]]ได้มอบหมายให้ร.อ.การุณ (ยศขณะนั้น) เป็นผู้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก จส.ของกรมการทหารสื่อสาร ซึ่งเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบกแห่งแรก ติดตั้งเครื่องส่ง ดูแลการออกอากาศ และเป็นโฆษกออกอากาศ ด้วยการเปิดเพลง และอ่านข่าว ต่อมามีการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก แบบขาวดำ และพันเอก (พิเศษ) การุณได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกระบบ และนำระบบโทรทัศน์สี เข้ามาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก


ในปี พ.ศ. 2507 พ.อ.การุณ ได้มีโอกาสเป็นพิธีกรสัมภาษณ์ [[อาภัสรา หงสกุล]] เมื่อครั้งที่อาภัสราเดินทางกลับประเทศไทย หลังจากที่ได้รับมงกุฎ[[นางงามจักรวาล]] ต่อมาในปี 2509 พ.อ.การุณ ได้เป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์มากมายเช่น "ป๊อบท็อป" "บันไดดารา" "ขายหัวเราะ" "ช่องนำโชค" "ยี่สิบคำถาม" ฯลฯ
ในปี พ.ศ. 2507 พันเอก (พิเศษ) การุณการุณ ได้มีโอกาสเป็นพิธีกรสัมภาษณ์ [[อาภัสรา หงสกุล]] เมื่อครั้งที่อาภัสราเดินทางกลับประเทศไทย หลังจากที่ได้รับมงกุฎ[[นางงามจักรวาล]] ต่อมาในปี 2509 พันเอก (พิเศษ) การุณ ได้เป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์มากมายเช่น "ป๊อบท็อป" "บันไดดารา" "ขายหัวเราะ" "ช่องนำโชค" "ยี่สิบคำถาม" ฯลฯ


ต่อมา พ.อ.การุณ ได้เปิดสอนการทำรายการโทรทัศน์ ได้ปั้นพิธีกรขึ้นมามากมาย เช่น [[ดำรง พุฒตาล]] [[ธรรมรัตน์ นาคสุริยะ]] และ [[วิชิต แสงทอง]]
พันเอก (พิเศษ) การุณได้เปิดสอนการทำรายการโทรทัศน์ ได้ปั้นพิธีกรขึ้นมามากมาย เช่น [[ดำรง พุฒตาล]] [[ธรรมรัตน์ นาคสุริยะ]] และ [[วิชิต แสงทอง]]


พันเอก (พิเศษ) การุณ ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อคืนวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ด้วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิต ที่ [[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] ด้วยวัย 86 ปี
พันเอก (พิเศษ) การุณถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ด้วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิต ที่ [[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] ด้วยวัย 86 ปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:34, 25 กรกฎาคม 2562

ไฟล์:การุณ เก่งระดมยิง1.jpg
พ.อ.(พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง

พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง (11 ธันวาคม พ.ศ. 2461 – 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) อดีตสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตโฆษกรายการโทรทัศน์และวิทยุ เช่น รายการป๊อบท็อป รายการยี่สิบคำถาม และเป็นผู้ก่อตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมการทหารสื่อสารและโทรทัศน์ไทย ซึ่งกลายเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปัจจุบัน

ประวัติ

พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง เป็นบุตรของพลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม กับคุณหญิงฟองสมุทร เกิดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2461 เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้อง 7 คน สมรสกับชื่นสุข โลจายะ มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน

พันเอก (พิเศษ) การุณ ศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แล้วเข้าศึกษาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนไปศึกษาแผนกวิศวกรรม มหาวิทยาลัยไมอามี สหรัฐ

ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา พันเอก (พิเศษ) การุณได้เข้าร่วมขบวนการเสรีไทย โดยเป็นเสรีไทยสายอเมริกันรุ่นแรก รหัส "เคน" กระทั่งสงครามสิ้นสุด รัฐบาลสหรัฐได้มอบเหรียญกล้าหาญเป็นเกียรติประวัติ

พันเอก (พิเศษ) การุณได้รับทุนรัฐบาล ไปศึกษาต่อด้านวิศวกรรมเครื่องยนต์ มีความชำนาญพิเศษด้านเทคนิคต่างๆ และด้านวิทยุโทรทัศน์ แล้วกลับมารับราชการทหารที่กระทรวงกลาโหม กระทั่งกองทัพบกได้มอบหมายให้ร.อ.การุณ (ยศขณะนั้น) เป็นผู้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก จส.ของกรมการทหารสื่อสาร ซึ่งเป็นสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบกแห่งแรก ติดตั้งเครื่องส่ง ดูแลการออกอากาศ และเป็นโฆษกออกอากาศ ด้วยการเปิดเพลง และอ่านข่าว ต่อมามีการจัดตั้งสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก แบบขาวดำ และพันเอก (พิเศษ) การุณได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกระบบ และนำระบบโทรทัศน์สี เข้ามาในประเทศไทยเป็นครั้งแรก

ในปี พ.ศ. 2507 พันเอก (พิเศษ) การุณการุณ ได้มีโอกาสเป็นพิธีกรสัมภาษณ์ อาภัสรา หงสกุล เมื่อครั้งที่อาภัสราเดินทางกลับประเทศไทย หลังจากที่ได้รับมงกุฎนางงามจักรวาล ต่อมาในปี 2509 พันเอก (พิเศษ) การุณ ได้เป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์มากมายเช่น "ป๊อบท็อป" "บันไดดารา" "ขายหัวเราะ" "ช่องนำโชค" "ยี่สิบคำถาม" ฯลฯ

พันเอก (พิเศษ) การุณได้เปิดสอนการทำรายการโทรทัศน์ ได้ปั้นพิธีกรขึ้นมามากมาย เช่น ดำรง พุฒตาล ธรรมรัตน์ นาคสุริยะ และ วิชิต แสงทอง

พันเอก (พิเศษ) การุณถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ด้วยโรคติดเชื้อในกระแสโลหิต ที่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ด้วยวัย 86 ปี

อ้างอิง