ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox rail line
{{Infobox rail line
| box_width =
| box_width =
บรรทัด 37: บรรทัด 36:
'''รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา''' (''อีสานมรรคา'' แปลว่า ทางสู่[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]; รหัสขบวน: 25/26) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ให้บริการผู้โดยสารระหว่าง[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] กับ[[สถานีรถไฟหนองคาย]] [[อำเภอเมืองหนองคาย]] [[จังหวัดหนองคาย]] เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในสายตะวันออกเฉียงเหนือ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก
'''รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา''' (''อีสานมรรคา'' แปลว่า ทางสู่[[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]; รหัสขบวน: 25/26) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ให้บริการผู้โดยสารระหว่าง[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]] [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] กับ[[สถานีรถไฟหนองคาย]] [[อำเภอเมืองหนองคาย]] [[จังหวัดหนองคาย]] เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในสายตะวันออกเฉียงเหนือ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก


รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-หนองคาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หลังจากการรถไฟแห่งประเทศไทยได้จัดซื้อรถไฟโดยสารเชิงพาณิชย์รุ่นใหม่จากประเทศจีนจำนวนทั้งหมด 115 คัน โดยขบวนรถได้รับพระราชทานชื่อจาก[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ร่วมกับรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทยในอีก 3 เส้นทาง ได้แก่ [[รถด่วนพิเศษอุตราวิถี|อุตราวิถี]] [[รถด่วนพิเศษอีสานวัตนา|อีสานวัตนา]] และ[[รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์|ทักษิณารัถย์]]
รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-หนองคาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หลังจากการรถไฟแห่งประเทศไทยได้จัดซื้อรถไฟโดยสารเชิงพาณิชย์รุ่นใหม่จากประเทศจีนจำนวนทั้งหมด 115 คัน โดยขบวนรถได้รับพระราชทานชื่อจาก[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ร่วมกับรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทยในอีก 3 เส้นทาง ได้แก่ [[รถด่วนพิเศษอุตราวิถี|อุตราวิถี]] [[รถด่วนพิเศษอีสานวัตนา|อีสานวัตนา]] และ[[รถด่วนพิเศษทักษิณารัถย์|ทักษิณารัถย์]]<ref>{{cite news |first= |last= |title=ร.ฟ.ท.พร้อมให้บริการรถไฟรุ่นใหม่ กทม.-เชียงใหม่ เที่ยวแรกเริ่ม 11 พ.ย.|url=http://www.thairath.co.th/content/764692 |work= |publisher=[[ไทยรัฐ]] |date=26 ตุลาคม 2559 |accessdate= 18 มีนาคม 2560}}</ref>


== ผังขบวน ==
== ผังขบวน ==
บรรทัด 58: บรรทัด 57:
|}
|}
* ขาขึ้นหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ปั่นไฟ ขาล่องหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ชั้นหนึ่ง
* ขาขึ้นหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ปั่นไฟ ขาล่องหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ชั้นหนึ่ง

== สิ่งสืบเนื่อง ==
ภายหลังจากที่รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาได้เริ่มให้บริการ การรถไฟฯ ได้ยกเลิกขบวนรถด่วนที่ 69/70 กรุงเทพ–หนองคาย–กรุงเทพ ซึ่งเคยเป็นขบวนรถที่มีศักดิ์สูงที่สุดในสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนก่อนที่รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาจะเริ่มเดินรถ นอกจากนี้ยังได้ปรับเวลาการเดินรถของขบวนรถด่วนที่ 77/78 กรุงเทพ–หนองคาย–กรุงเทพ

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


{{การรถไฟแห่งประเทศไทย}}
{{การรถไฟแห่งประเทศไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:55, 24 กรกฎาคม 2562

อีสานมรรคา
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ที่ตั้งไทย
ปลายทาง
จำนวนสถานี19
การดำเนินงาน
รูปแบบรถด่วนพิเศษ
เส้นทางทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ
ประวัติ
เปิดเมื่อ2 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง627.5 กิโลเมตร
รางกว้าง1.000 เมตร
ความเร็วสูงสุด 120 กม./ชั่วโมง

รถด่วนพิเศษอีสานมรรคา (อีสานมรรคา แปลว่า ทางสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ; รหัสขบวน: 25/26) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟหนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย เป็นขบวนรถด่วนพิเศษในสายตะวันออกเฉียงเหนือ ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนอนปรับอากาศชั้น 1 รถนอนปรับอากาศชั้น 2 รถเสบียงปรับอากาศ และรถเฉพาะสุภาพสตรีและเด็ก

รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาเริ่มเดินรถเที่ยวปฐมฤกษ์ในเส้นทางกรุงเทพมหานคร-หนองคาย เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หลังจากการรถไฟแห่งประเทศไทยได้จัดซื้อรถไฟโดยสารเชิงพาณิชย์รุ่นใหม่จากประเทศจีนจำนวนทั้งหมด 115 คัน โดยขบวนรถได้รับพระราชทานชื่อจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทยในอีก 3 เส้นทาง ได้แก่ อุตราวิถี อีสานวัตนา และทักษิณารัถย์[1]

ผังขบวน

หมายเลขตู้ขาขึ้น - 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
หมายเลขตู้ขาล่อง - 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1
ชั้น ตู้ปั่นไฟ ชั้นสอง ตู้เสบียง ชั้นสอง ชั้นหนึ่ง
จำนวนที่นั่ง - 40 40 40 40 36 - 40 40 40 40 40 24
สิ่งอำนวย
ความสะดวก
- สุขา สุขา สุขา สุขา สุขาผู้พิการ
พื้นที่วีลแชร์
- สุขา สุขา สุขา สุขา สุขา สุขา
ห้องอาบน้ำ
  • ขาขึ้นหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ปั่นไฟ ขาล่องหัวรถจักรจะอยู่ติดกับตู้ชั้นหนึ่ง

สิ่งสืบเนื่อง

ภายหลังจากที่รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาได้เริ่มให้บริการ การรถไฟฯ ได้ยกเลิกขบวนรถด่วนที่ 69/70 กรุงเทพ–หนองคาย–กรุงเทพ ซึ่งเคยเป็นขบวนรถที่มีศักดิ์สูงที่สุดในสายตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนก่อนที่รถด่วนพิเศษอีสานมรรคาจะเริ่มเดินรถ นอกจากนี้ยังได้ปรับเวลาการเดินรถของขบวนรถด่วนที่ 77/78 กรุงเทพ–หนองคาย–กรุงเทพ

อ้างอิง

  1. "ร.ฟ.ท.พร้อมให้บริการรถไฟรุ่นใหม่ กทม.-เชียงใหม่ เที่ยวแรกเริ่ม 11 พ.ย." ไทยรัฐ. 26 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2560. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)