ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิติกรรมทางแพ่ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kurino (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: นิติกรรม คือ การใดๆอันบุคคลกระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วย...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
นิติกรรม คือ การใดๆอันบุคคลกระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ในบางประเทศที่ใช้[[กฎหมายลายลักษณ์อักษร]] (Civil Law System) โดยพัฒนาขึ้นโดยวงการนิติศาสตร์เยอรมัน บางประเทศที่ใช้กฎหมายจารีตประเพณี (Common Law System) มีเพียงกฎหมายว่าด้วยสัญญาเท่านั้นโดยครอบคลุมถึงนิติกรรมฝ่ายเดียวและนิติกรรมหลายฝ่าย<ref>ราชบัณทิตยสถาน, 2551 ออนไลน์</ref> ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน นิติกรรม หมายถึง การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
นิติกรรม คือ การใดๆอันบุคคลกระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ในบางประเทศที่ใช้[[กฎหมายลายลักษณ์อักษร]] (Civil Law System) โดยพัฒนาขึ้นโดยวงการนิติศาสตร์เยอรมัน บางประเทศที่ใช้กฎหมายจารีตประเพณี (Common Law System) มีเพียงกฎหมายว่าด้วยสัญญาเท่านั้นโดยครอบคลุมถึงนิติกรรมฝ่ายเดียวและนิติกรรมหลายฝ่าย<ref>ราชบัณทิตยสถาน, 2551 ออนไลน์</ref> ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน นิติกรรม หมายถึง การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
















{{กฎหมายหนี้}}
{{กฎหมายหนี้}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:53, 11 กรกฎาคม 2562

นิติกรรม คือ การใดๆอันบุคคลกระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ ในบางประเทศที่ใช้กฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law System) โดยพัฒนาขึ้นโดยวงการนิติศาสตร์เยอรมัน บางประเทศที่ใช้กฎหมายจารีตประเพณี (Common Law System) มีเพียงกฎหมายว่าด้วยสัญญาเท่านั้นโดยครอบคลุมถึงนิติกรรมฝ่ายเดียวและนิติกรรมหลายฝ่าย[1] ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน นิติกรรม หมายถึง การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ

  1. ราชบัณทิตยสถาน, 2551 ออนไลน์