ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะเคมี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7614192 โดย BotKung: อยากเพ้อไปเพ้อที่อื่นด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
FutureLifePlus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พันธะเคมี''' ([[ภาษาอังกฤษ| อังกฤษ]] : Chemical Bond) คือ
'''พันธะเคมี''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]] : Chemical Bond) คือ
แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่าง[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมเพื่อเกิดเป็นกลุ่มที่เสถียรและเป็นอิสระในระดับโมเลกุล ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของพันธะเคมีใน[[โมเลกุล]]คือจะปรากฏในบริเวณระหว่าง[[นิวเคลียส]]ของอะตอม ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานจนอยู่ในช่วงที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะเกิดเป็น[[พันธะโควาเลนต์|พันธะโคเวเลนต์]] [[พันธะไอออนิก]] หรือ[[พันธะโลหะ]] ได้ อนึ่ง การศึกษาเรื่องพันธะเคมีทำให้สามารถเข้าใจและทำนายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารได้
แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่าง[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมเพื่อเกิดเป็นกลุ่มที่เสถียรและเป็นอิสระในระดับโมเลกุล ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของพันธะเคมีใน[[โมเลกุล]]คือจะปรากฏในบริเวณระหว่าง[[นิวเคลียส]]ของอะตอม ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานจนอยู่ในช่วงที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะเกิดเป็น[[พันธะโควาเลนต์|พันธะโคเวเลนต์]] [[พันธะไอออนิก]] หรือ[[พันธะโลหะ]] ได้ อนึ่ง การศึกษาเรื่องพันธะเคมีทำให้สามารถเข้าใจและทำนายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารได้



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:18, 3 กรกฎาคม 2562

พันธะเคมี (อังกฤษ : Chemical Bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมเพื่อเกิดเป็นกลุ่มที่เสถียรและเป็นอิสระในระดับโมเลกุล ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของพันธะเคมีในโมเลกุลคือจะปรากฏในบริเวณระหว่างนิวเคลียสของอะตอม ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานจนอยู่ในช่วงที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะเกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก หรือพันธะโลหะ ได้ อนึ่ง การศึกษาเรื่องพันธะเคมีทำให้สามารถเข้าใจและทำนายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารได้

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

IUPAC. Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997). XML on-line corrected version: http://goldbook.iupac.org (2006-) created by M. Nic, J. Jirat, B. Kosata; updates compiled by A. Jenkins. ISBN 0-9678550-9-8. doi:10.1351/goldbook]