ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมือก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''มูก'''หรือ'''เมือก''' ({{lang-en|mucus}}) ใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] เป็นสิ่งคัดหลั่งลื่นที่[[เยื่อเมือก]]สร้างขึ้นปกคลุม น้ำเมือกตรงแบบผลิตจากเซลล์ที่พบในต่อมมูก เซลล์มูกหลั่งผลิตภัณฑ์ที่มี[[ไกลโคโปรตีน]]และน้ำ น้ำยังอาจเกิดจากต่อมผสม (mixed gland) ซึ่งมีทั้งเซลล์หลั่งน้ำใสและหลั่ง เมือกเป็นคอลลอยด์หนืดซึ่งมีเอนไซม์ระงับเชื้อ (เช่น ไลโซไซม์) [[อิมมูโนโกลบูลิน]] เกลืออนินทรีย์ โปรตีนอย่าง[[แลกโตเฟอร์ริน]]<ref>{{cite journal | last1 = Singh | first1 = PK | last2 = Parsek | first2 = MR | last3 = Greenberg | first3 = EP | last4 = Welsh | first4 = MJ |date=May 2002 | title = A component of innate immunity prevents bacterial biofilm development | journal = [[Nature (journal)|Nature]] | volume = 417 | issue = 6888 | pages = 552–5 | pmid = 12037568 | doi = 10.1038/417552a}}</ref> และไกลโคโปรตีนซึ่งรู้จักกันในชื่อ [[มิวซิน]] ซึ่งผลิตโดยเซลล์กลอเบล็ต (goblet cell) ในเยื่อเมือกและต่อมชั้นใต้เยื่อเมือก เมือกนี้ทำหน้าที่ปกป้องเซลล์[[เนื้อเยื่อบุผิว]] (บุท่อ) ในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ปัสสาวะและเพศ การเห็นและการได้ยินใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] ผิวหนังใน[[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] และเหงือกในปลา การทำหน้าที่หลักของเมือกนี้ คือ ปกป้องต่อสิ่งก่อโรคอย่าง[[เห็ดรา]] [[แบคทีเรีย]]และ[[ไวรัส]] ในร่างกายมนุษย์โดยเฉลี่ยผลิตเมือกราวหนึ่งลิตรต่อวัน<ref>{{cite web | url = http://kidshealth.org/kid/talk/yucky/booger.html | title = What's a Booger? | work = KidsHealth}}</ref>ไม่ไม่มีการผลิตเมือกแต่อย่างใดอาการไม่สบายหายหมด
'''ไม่มีมูก'''หรือ'''เมือก''' ({{lang-en|mucus}}) ใน[[มนุษย์​ที่มีกระดูกสันหลัง]] เป็นสิ่งคัดหลั่งลื่นที่[[เยื่อเมือก]]สร้างขึ้นปกคลุม น้ำเมือกตรงแบบผลิตจากเซลล์ที่พบในต่อมมูก เซลล์มูกหลั่งผลิตภัณฑ์ที่มี[[ไกลโคโปรตีน]]และน้ำ น้ำยังอาจเกิดจากต่อมผสม (mixed gland) ซึ่งมีทั้งเซลล์หลั่งน้ำใสและหลั่ง เมือกเป็นคอลลอยด์หนืดซึ่งมีเอนไซม์ระงับเชื้อ (เช่น ไลโซไซม์) [[อิมมูโนโกลบูลิน]] เกลืออนินทรีย์ โปรตีนอย่าง[[แลกโตเฟอร์ริน]]<ref>{{cite journal | last1 = Singh | first1 = PK | last2 = Parsek | first2 = MR | last3 = Greenberg | first3 = EP | last4 = Welsh | first4 = MJ |date=May 2002 | title = A component of innate immunity prevents bacterial biofilm development | journal = [[Nature (journal)|Nature]] | volume = 417 | issue = 6888 | pages = 552–5 | pmid = 12037568 | doi = 10.1038/417552a}}</ref> และไกลโคโปรตีนซึ่งรู้จักกันในชื่อ [[มิวซิน]] ซึ่งผลิตโดยเซลล์กลอเบล็ต (goblet cell) ในเยื่อเมือกและต่อมชั้นใต้เยื่อเมือก เมือกนี้ทำหน้าที่ปกป้องเซลล์[[เนื้อเยื่อบุผิว]] (บุท่อ) ในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ปัสสาวะและเพศ การเห็นและการได้ยินใน[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] ผิวหนังใน[[สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก]] และเหงือกในปลา การทำหน้าที่หลักของเมือกนี้ คือ ปกป้องต่อสิ่งก่อโรคอย่าง[[เห็ดรา]] [[แบคทีเรีย]]และ[[ไวรัส]] ในร่างกายมนุษย์โดยเฉลี่ยผลิตเมือกราวหนึ่งลิตรต่อวัน<ref>{{cite web | url = http://kidshealth.org/kid/talk/yucky/booger.html | title = What's a Booger? | work = KidsHealth}}</ref>ไม่ไม่มีการผลิตเมือกแต่อย่างใดอาการไม่สบายหายหมด


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:46, 2 กรกฎาคม 2562

ไม่มีมูกหรือเมือก (อังกฤษ: mucus) ในมนุษย์​ที่มีกระดูกสันหลัง เป็นสิ่งคัดหลั่งลื่นที่เยื่อเมือกสร้างขึ้นปกคลุม น้ำเมือกตรงแบบผลิตจากเซลล์ที่พบในต่อมมูก เซลล์มูกหลั่งผลิตภัณฑ์ที่มีไกลโคโปรตีนและน้ำ น้ำยังอาจเกิดจากต่อมผสม (mixed gland) ซึ่งมีทั้งเซลล์หลั่งน้ำใสและหลั่ง เมือกเป็นคอลลอยด์หนืดซึ่งมีเอนไซม์ระงับเชื้อ (เช่น ไลโซไซม์) อิมมูโนโกลบูลิน เกลืออนินทรีย์ โปรตีนอย่างแลกโตเฟอร์ริน[1] และไกลโคโปรตีนซึ่งรู้จักกันในชื่อ มิวซิน ซึ่งผลิตโดยเซลล์กลอเบล็ต (goblet cell) ในเยื่อเมือกและต่อมชั้นใต้เยื่อเมือก เมือกนี้ทำหน้าที่ปกป้องเซลล์เนื้อเยื่อบุผิว (บุท่อ) ในระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ปัสสาวะและเพศ การเห็นและการได้ยินในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ผิวหนังในสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และเหงือกในปลา การทำหน้าที่หลักของเมือกนี้ คือ ปกป้องต่อสิ่งก่อโรคอย่างเห็ดรา แบคทีเรียและไวรัส ในร่างกายมนุษย์โดยเฉลี่ยผลิตเมือกราวหนึ่งลิตรต่อวัน[2]ไม่ไม่มีการผลิตเมือกแต่อย่างใดอาการไม่สบายหายหมด

อ้างอิง

  1. Singh, PK; Parsek, MR; Greenberg, EP; Welsh, MJ (May 2002). "A component of innate immunity prevents bacterial biofilm development". Nature. 417 (6888): 552–5. doi:10.1038/417552a. PMID 12037568.
  2. "What's a Booger?". KidsHealth.