ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ณรัชต์ เศวตนันทน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งอ่านเหมือนเรซูเมด้วยสจห.
Goldsilver45 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
|order = [[สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ]]
|order = [[สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ]]
|term_start = 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558
|term_start = 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558
|order2 = อธิบดี[[กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ]]
|term_start2 = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555
|term_end2 = 17 กันยายน พ.ศ. 2558
|order3 = อธิบดี[[กรมคุมประพฤติ]]
|term_start3 = 18 กันยายน พ.ศ. 2558
|term_end3 = 30 กันยายน พ.ศ. 2560
|order4 = อธิบดี[[กรมราชทัณฑ์]]
|term_start4 = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560
|term_end4 =


|birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2503|06|13}}|alma_mater =
|birth_date = {{วันเกิด-อายุ|2503|06|13}}|alma_mater =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:52, 28 มิถุนายน 2562

พันตำรวจเอก ดร. ณรัชต์ เศวตนันทน์ (16 มิถุนายน 2503 -) อธิบดีกรมราชทัณฑ์[1]อดีตอธิบดีกรมคุมประพฤติ[2]อดีตอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ อดีตรองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ และ อดีตสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ[3]

พลจัตวา
ณรัชต์ เศวตนันทน์
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
5 ตุลาคม พ.ศ. 2558
อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 – 17 กันยายน พ.ศ. 2558
อธิบดีกรมคุมประพฤติ
ดำรงตำแหน่ง
18 กันยายน พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2560
อธิบดีกรมราชทัณฑ์
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด13 มิถุนายน พ.ศ. 2503 (63 ปี)
คู่สมรสนวลพรรณ ล่ำซำ
ศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 20 โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 36
ชื่อเล่นเอ

ประวัติ

พ.ต.อ.ณรัชต์ เกิดเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2503 มีชื่อเล่นว่า เอ เป็นบุตรชายคนเดียวของพลตำรวจตรี นิทัศน์ เศวตนันทน์ และ รศ.อมรรัตน์ เศวตนันทน์[4] ปัจจุบันสมรสกับ นวลพรรณ ล่ำซำ หรือ มาดามแป้ง เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557

การศึกษา

  • ปริญญาโทสาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยเคนทักกี
  • ปริญญาเอกสาขาอาชญาวิทยา มหาวิทยาลัยฟลอริดา สหรัฐอเมริกา [5]

หลักสูตรอื่น

การทำงาน

  • ผู้กำกับการฝ่ายตำรวจสากล กองการต่างประเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตำแหน่งสุดท้ายในการรับราชการตำรจ)

หลังจากโอนย้ายมาสังกัดกระทรวงยุติธรรม

  • ผู้บัญชาการสำนักกิจการต่างประเทศและคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้บัญชาการสำนักคดีการเงินและการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้บัญชาการสำนักคดีทรัพย์สินทางปัญญา กรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • รองอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • ผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม[6]
  • อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
  • อธิบดีกรมคุมประพฤติ
  • อธิบดีกรมราชทัณฑ์

ตำแหน่งอื่นๆ

  • โฆษกกรมสอบสวนคดีพิเศษ
  • โฆษกกระทรวงยุติธรรม

ตำแหน่งและหน้าที่พิเศษ

  • 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ [7]
  • 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 - คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม (ตำรวจ)[8]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง