ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังฆราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8369558 สร้างโดย ปิยะวรรณ ตั้้งสัตยา (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||สังฆราชในความหมายอื่น ๆ |พระสังฆราช (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น||สังฆราชในความหมายอื่น ๆ |พระสังฆราช (แก้ความกำกวม)}}
'''สังฆราช''' คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดใน[[สังฆมณฑล]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2546, หน้า 1160</ref> ในแต่ละประเทศ เช่น [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศกัมพูชา]] มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสังฆปริณายก<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], หน้า 1110</ref>) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระสังฆราชเจ้าหรือพระราชาคณะ
'''สังฆราช''' คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดใน[[สังฆมณฑล]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2546, หน้า 1160</ref> ในแต่ละประเทศ เช่น [[ประเทศพม่า]] [[ประเทศไทย]] [[ประเทศกัมพูชา]] มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]], หน้า 1110</ref>) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสงฆ์


== ประเทศไทย ==
== ประเทศไทย ==
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
พระสังฆราชของ[[ประเทศไทย]]เรียกว่า '''สมเด็จพระสังฆราช''' และมีตำแหน่งเป็นสกลมหาสังฆปริณายก เพราะทรงเป็นประมุขปกครองบัญชาการคณะสงฆ์ทุกนิกายในประเทศไทย และมีพระอิสริยยศเสมอด้วยพระองค์เจ้าต่างกรม [[พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560]] ฉบับปัจจุบันให้[[พระมหากษัตริย์ไทย]]เป็นผู้สถาปนา[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560</ref>
พระสังฆราชของ[[ประเทศไทย]]เรียกว่า '''สมเด็จพระสังฆราช''' และมีตำแหน่งเป็นสกลมหาสังฆปริณายก เพราะทรงเป็นประมุขปกครองบัญชาการคณะสงฆ์ทุกนิกายในประเทศไทย และมีพระอิสริยยศเสมอด้วยพระองค์เจ้าต่างกรม [[พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560]] ฉบับปัจจุบันให้[[พระมหากษัตริย์ไทย]]เป็นผู้สถาปนา[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช<ref>พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560</ref>


สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ล่าสุดคือ [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)]] ซึ่งดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่วันที่ [[21 เมษายน|12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2532|พ.ศ. 2560]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช], ตอนที่ 5ข, เล่ม 134, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560, หน้า 1-3</ref>
สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ล่าสุดคือ [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)]] ซึ่งดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช], ตอนที่ 5ข, เล่ม 134, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560, หน้า 1-3</ref>


== ประเทศกัมพูชา ==
== ประเทศกัมพูชา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:55, 27 มิถุนายน 2562

สังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล[1] ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก[2]) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสงฆ์

ประเทศไทย

พระสังฆราชของประเทศไทยเรียกว่า สมเด็จพระสังฆราช และมีตำแหน่งเป็นสกลมหาสังฆปริณายก เพราะทรงเป็นประมุขปกครองบัญชาการคณะสงฆ์ทุกนิกายในประเทศไทย และมีพระอิสริยยศเสมอด้วยพระองค์เจ้าต่างกรม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 ฉบับปัจจุบันให้พระมหากษัตริย์ไทยเป็นผู้สถาปนาสมเด็จพระราชาคณะขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช[3]

สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ล่าสุดคือ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ซึ่งดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560[4]

ประเทศกัมพูชา

ช่วง พ.ศ. 2398-2524 ประเทศกัมพูชามีสมเด็จพระสังฆราช 2 พระองค์ คือฝ่ายมหานิกายและฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ในปี พ.ศ. 2524 ได้มีการรวมคณะสงฆ์ทั้งสองนิกายเป็นหนึ่งเดียว โดยมีสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์) เป็นประมุข[5] ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงสถาปนาบัวร์ กรี เป็นสมเด็จพระอภิสิรีสุคนธามหาสังฆราชาธิบดี สมเด็จพระมหาสังฆราชในคณะธรรมยุติกนิกาย ทำให้คณะสงฆ์กัมพูชาแบ่งการปกครองเป็นสองนิกายอีกครั้ง[6] โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์) เป็นประมุขเฉพาะฝ่ายมหานิกาย และในปี พ.ศ. 2549 สมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (เทพ วงศ์) ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระอัครมหาสังฆราชาธิบดี และสมเด็จนนท์ แงด ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี สมเด็จพระสังฆนายกฝ่ายมหานิกายสืบแทนมาจนปัจจุบัน ในปัจจุบันประเทศกัมพูชาจึงมีสมเด็จพระมหาสังฆราช 2 พระองค์

อ้างอิง

  • Harris, Ian (August 2001), "Sangha Groupings in Cambodia", Buddhist Studies Review, UK Association for Buddhist Studies, 18 (I): 65–72
  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2546, หน้า 1160
  2. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, หน้า 1110
  3. พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช, ตอนที่ 5ข, เล่ม 134, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560, หน้า 1-3
  5. (Harris 2001, p. 75)
  6. (Harris 2001, p. 77)