ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
Gta2123 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับแอนดรอยด์
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
ปัจจัยเสี่ยงของโรคลมปัจจุบันได้แก่ [[ความดันโลหิตสูง]] การสูบบุหรี่ การใช้ยาเสพติดและยารักษาโรคบางประเภท ความชรา น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ประวัติการเป็นโรคลมปัจจุบันในอดีต หรือ[[ภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว]] (transient ischemic attack, TIA) [[เบาหวาน]] [[ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลสูง]] การรับประทานอาหารที่มีเกลือสูงเสมอๆ และอาการ[[หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว]] (atrial fibrillation)<ref>[http://www.mountsinai.org/Other/Diseases/Stroke Stroke] Mount Sinai Hospital, New York</ref> ซึ่งความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคนี้<ref name=Donnan/>
ปัจจัยเสี่ยงของโรคลมปัจจุบันได้แก่ [[ความดันโลหิตสูง]] การสูบบุหรี่ การใช้ยาเสพติดและยารักษาโรคบางประเภท ความชรา น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ประวัติการเป็นโรคลมปัจจุบันในอดีต หรือ[[ภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว]] (transient ischemic attack, TIA) [[เบาหวาน]] [[ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลสูง]] การรับประทานอาหารที่มีเกลือสูงเสมอๆ และอาการ[[หัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว]] (atrial fibrillation)<ref>[http://www.mountsinai.org/Other/Diseases/Stroke Stroke] Mount Sinai Hospital, New York</ref> ซึ่งความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคนี้<ref name=Donnan/>


==สัญญาณบอกโรค==
==ร่างกายปกติสัญญาณบอกโรค==
ในสหรัฐอเมริกา มีสัญญาณบอกโรคที่สำคัญอยู่ 5 อย่าง คือ
ในสหรัฐอเมริกา มีสัญญาณบอกโรคที่สำคัญอยู่ 5 อย่าง คือ
*การชาและอ่อนแรงตามใบหน้า แขน-ขา อย่างฉับพลัน
*การชาและอ่อนแรงตามใบหน้า แขน-ขา อย่างฉับพลัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:35, 26 มิถุนายน 2562

แม่แบบ:กล่องข้อมูล ไม่มีโรค ไม่มีโรคลมปัจจุบัน หรือ โรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง หรือ โรคหลอดเลือดสมอง (อังกฤษ: stroke) เป็นการหยุดการทำงานของสมองอย่างฉับพลันโดยมีสาเหตุจากการรบกวนหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง โรคนี้อาจเกิดจากการขาดเลือดเฉพาะที่ของสมอง (ischemia) ซึ่งมีสาเหตุจากภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด (thrombosis) หรือภาวะมีสิ่งหลุดอุดหลอดเลือด (embolism) หรืออาจเกิดจากการตกเลือด (hemorrhage) ในสมอง ผลจากภาวะดังกล่าวทำให้สมองส่วนที่ขาดเลือดหรือตกเลือดทำงานไม่ได้ และอาจส่งผลทำให้อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia; ไม่สามารถขยับแขนขาส่วนใดส่วนหนึ่งหรือซีกใดซีกหนึ่ง) ไม่สามารถที่จะทำความเข้าใจหรือพูดได้ หรือตาบอดครึ่งซีก (hemianopsia; ไม่สามารถมองเห็นครึ่งซีกหนึ่งของลานสายตา)[1] ทั้งนี้ถ้ามีความรุนแรงมาก อาจทำให้ถึงตายได้

โรคลมปัจจุบันเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งสามารถทำให้เสียการทำงานของระบบประสาทอย่างถาวร อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นับเป็นสาเหตุหลักของความพิการในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และเป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของทั่วโลก และกำลังจะขึ้นเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกในไม่ช้าอากรปกติ[2]

ปัจจัยเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยงของโรคลมปัจจุบันได้แก่ ความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ การใช้ยาเสพติดและยารักษาโรคบางประเภท ความชรา น้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ประวัติการเป็นโรคลมปัจจุบันในอดีต หรือภาวะสมองขาดเลือดชั่วคราว (transient ischemic attack, TIA) เบาหวาน ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลสูง การรับประทานอาหารที่มีเกลือสูงเสมอๆ และอาการหัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว (atrial fibrillation)[3] ซึ่งความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุดของโรคนี้[1]

ร่างกายปกติสัญญาณบอกโรค

ในสหรัฐอเมริกา มีสัญญาณบอกโรคที่สำคัญอยู่ 5 อย่าง คือ

  • การชาและอ่อนแรงตามใบหน้า แขน-ขา อย่างฉับพลัน
  • สับสนหรือมีปัญหาในการพูดหรือเข้าใจภาษาอย่างฉับพลัน
  • สายตามีปัญหาอย่างฉับพลัน
  • การทรงตัว การเดินมีปัญหา หรือรู้สึกมึนงงอย่างฉับพลัน
  • ปวดหัวอย่างรุนแรงและฉับพลัน

ทั้งนี้ ผู้ที่มีอาการดังกล่าว มิควรมองข้ามอาการเหล่านี้ โดยเฉพาะเมื่อมีอาการรุนแรงหรือมีอาการหลายๆอย่างประกอบกันในคราวเดียว ทั้งเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงด้วยแล้ว ควรรีบปรึกษาแพทย์หรือให้ผู้ที่ใกล้ชิดพาส่งโรงพยาบาลทันที เพราะหากปล่อยไว้นานเท่าไร โอกาสที่จะเกิดความเจ็บป่วย พิการและตาย ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น[4]

การวินิจฉัย

การวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันประกอบด้วยการเก็บข้อมูลหลายส่วน ทั้งจากการตรวจร่างกายทางระบบประสาท (เช่นการตรวจด้วย NIHSS) การตรวจด้วยซีทีสแกน หรือเอ็มอาร์ไอ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Donnan GA, Fisher M, Macleod M, Davis SM (2008). "Stroke". Lancet. 371 (9624): 1612–23. doi:10.1016/S0140-6736 (08) 60694-7. PMID 18468545. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. Feigin VL (2005). "Stroke epidemiology in the developing world". Lancet. 365 (9478): 2160–1. doi:10.1016/S0140-6736 (05) 66755-4. PMID 15978910. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่า |doi= (help)
  3. Stroke Mount Sinai Hospital, New York
  4. http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/tutorials/strokes/htm/lesson.htm

แหล่งข้อมูลอื่น