ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สีชมพู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 8363460 สร้างโดย Potapt (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 34: บรรทัด 34:


คำว่า "pink" (พิงก์) ในภาษาอังกฤษ เป็น สีที่ไม่ได้มีการกล่าวถึงในวรรณกรรมของ[[วิลเลียม เชกสเปียร์]] คำว่า pink ถูกใช้ในการกล่าวถึงสีของดอกไม้ ''[[Dianthus]]''
คำว่า "pink" (พิงก์) ในภาษาอังกฤษ เป็น สีที่ไม่ได้มีการกล่าวถึงในวรรณกรรมของ[[วิลเลียม เชกสเปียร์]] คำว่า pink ถูกใช้ในการกล่าวถึงสีของดอกไม้ ''[[Dianthus]]''

== การใช้งานและสัญลักษณ์ ==
* สีชมพูเป็นสีประจำวันพระราชสมภพของ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* สีชมพูเป็นสีเฉลิมฉลอง[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
* สีชมพูเป็นสีประจำ[[วันอังคาร]]
* สีชมพูเป็นสีของความเป็นผู้หญิง
* ลูก[[สนุกเกอร์]]สีชมพู ที่มีค่าเท่ากับ 6 แต้ม
* ดอก[[ซากุระ]]มีสีชมพู
* "Pink" เป็นชื่อเพลง ของ [[แอโรสมิธ]] ในปี ค.ศ. 1997
* เครื่องดื่มที่มีสีชมพูคือ [[นมเย็น]] กับ [[พิงก์เลมอนเนด]]
* [[พิงก์แพนเตอร์]] ตัวการ์ตูนเสือสีชมพู
* "[[ชมพูพาน]]" เป็นตัวละครตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ มีสีกายสีหงชาด ใกล้เคียงกับสีชมพู
* ใช้เป็นสีประจำตัวของ[[ปวีณา หงสกุล|นางปวีณา หงสกุล]] ในการเลือกตั้ง[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2547]]
* สีชมพู (ชมพูเหลือบมุก) เป็นสีประจำวง [[เกิลส์เจเนอเรชัน]] วงเกิร์ลกรุ๊ปเกาหลี
*เป็นสีประจำตัวของ เอลลิน สมาชิกวง [[เครยอนป๊อป]] วงเกิร์ลกรุ๊ปเกาหลี
*เป็นสีประจำ[[หนังสือพิมพ์เดลินิวส์]]
*เป็นสีประจำ[[ธนาคารออมสิน]]
*เป็นสีประจำตัวของ [[จาง วอนยอง]] (ชมพู) และ[[มิยาวากิ ซากุระ]] (ชมพูพาสเทล) สมาชิกของ [[ไอซ์วัน]] เกิร์ลกรุ๊ปของ[[เกาหลีใต้]]

== สีประจำสถาบันการศึกษา ==
* เป็นสีประจำ[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]], [[โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ[[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
* เป็นสีประจำ[[คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]]
* สีชมพูกลีบบัว เป็นสีประจำ[[คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] และ[[คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] โดยมีที่มาจากหลักธรรมคำสอนของ[[พระพุทธเจ้า]] เรื่องบัวสี่เหล่า โดยบัวที่พ้นน้ำและเบ่งบานรับแสงอรุณ เปรียบเสมือนบุคคลผู้หลุดพ้นจากอวิชชา พร้อมจะรับการอบรมสั่งสอนและเจริญขึ้นอย่างสง่างาม
* สีชมพูคู่กับ[[สีเทา]] เป็นสีประจำ[[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีเขียว]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย]], [[โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม]], [[โรงเรียนสุราษฎร์ธานี]] และ[[โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีเหลือง]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร]] และ[[โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีฟ้า]] เป็นสีประจำ[[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี]], [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ]], [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เพชรบูรณ์]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สระบุรี]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี]], [[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นครศรีธรรมราช]], [[โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย]], [[โรงเรียนบางเลนวิทยา]], [[โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร]], [[โรงเรียนพานพิเศษพิทยา]], [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ]], [[โรงเรียนประจวบวิทยาลัย]] และ[[โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีน้ำเงิน]] เป็นสีประจำ[[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]],[[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]] , [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ]], [[โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ]], [[โรงเรียนเทศบาลวัดดอนแก้ว]], [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน]], [[โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล]], [[โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]], [[โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์]], [[โรงเรียนวัดราชาธิวาส]], [[โรงเรียนโยธินบูรณะ]], [[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา]], [[โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี]] และ[[โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีดำ]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนเทพลีลา]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีขาว]]และ[[สีเขียว]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนวัดสุทธิวราราม]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีน้ำตาล]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีขาว]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนสตรีสิริเกศ]], [[โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย]], [[โรงเรียนปิยะบุตร์]], [[โรงเรียนภูเขียว]], [[โรงเรียนวัดศรีจันทร์]], และ[[โรงเรียนสมุทรสาครวุฒิชัย]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีฟ้า]]และ[[สีเหลือง]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน]] และ[[โรงเรียนบ้านคลองพระมอพิสัย]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีกรมท่า]] เป็นสีประจำ[[โรงเรียนกัลยาณวัตร]], [[โรงเรียนนารีนุกูล]] และ[[โรงเรียนนารีนุกูล2]]
* สีชมพูคู่กับ[[สีทอง]] เป็นสีประจำ[[วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา]]
* สีชมพูกลีบบัว เป็นสีประจำ[[คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* เป็นสีประจำ[[คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยรังสิต]]
* สีดอกบานเย็น เป็นสีประจำ[[คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร]]<ref>สรุปมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (โดยมีอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ พิทยเมธี อาจารย์ประจำภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้จัดทำสีไทยโทน ในการควบคุมและประสานงานเพื่อปรับสีประจำคณะวิชา)</ref>


== สีใกล้เคียง ==
== สีใกล้เคียง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:04, 24 มิถุนายน 2562

สีชมพู
 
ผิวตราRose
About these coordinates     รหัสสี
Hex triplet#FFC0CB
sRGBB  (rgb)(255, 192, 203)
CMYKH   (c, m, y, k)(0, 25, 20, 0)
HSV       (h, s, v)(350°, 25%, 100%)
SourceHTML/CSS[1]
B: อยู่ในช่วง [0–255] (ไบต์)
H: อยู่ในช่วง [0–100] (ร้อย)

สีชมพู เป็นสีที่เกิดจากการผสมสีแดงและสีขาว ในบางครั้งจะถูกกล่าวถึงในลักษณะสีแดงอ่อน สีชมพูมักจะถูกใช้ในการกล่าวถึงลักษณะของเด็กหญิง ซึ่งนิยมใช้ควบคู่กับ สีน้ำเงินหรือสีฟ้า ที่จะแสดงถึงเด็กชาย ในภาษาเหนือ เรียกสีชมพูว่า "จมออน" (จม-ออน)

ศัพทมูลวิทยา

คำว่า "ชมพู" อาจมาจากภาษาสันสกฤต "ชมฺพุ" หมายถึง ต้นชมพู่ และชมพูทวีป (ทวีปที่เต็มไปด้วยต้นชมพู่) ทั้งนี้เนื่องจากดอกชมพู่นั้นมีสีชมพู หรือชมพูอมแดง ในภาษาอินโดนีเซีย ก็เรียกสีชมพูว่า จัมปู (jampu)

คำว่า "pink" (พิงก์) ในภาษาอังกฤษ เป็น สีที่ไม่ได้มีการกล่าวถึงในวรรณกรรมของวิลเลียม เชกสเปียร์ คำว่า pink ถูกใช้ในการกล่าวถึงสีของดอกไม้ Dianthus

การใช้งานและสัญลักษณ์

สีประจำสถาบันการศึกษา

สีใกล้เคียง

  • สีปูนแห้ง
  • สีหงชาด
  • สีบานเย็น

สีชมพูต่างๆ

ชื่อภาษาไทย
HTML
name
R G B
Hex
ตัวอย่างสี
สีชมพู Pink FF C0 CB  
Lightpink FF B6 C1  
Palevioletred DB 70 93  
Hotpink FF 69 B4  
Deeppink FF 14 93  
Mediumvioletred C7 15 85  


อ้างอิง

  1. "W3C TR CSS3 Color Module, HTML4 color keywords". W3.org. สืบค้นเมื่อ 2010-09-11.
  2. สรุปมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 (โดยมีอาจารย์ ดร. ไพโรจน์ พิทยเมธี อาจารย์ประจำภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้จัดทำสีไทยโทน ในการควบคุมและประสานงานเพื่อปรับสีประจำคณะวิชา)