ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zaa2528 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2463]] โดยเริ่มการการก่อตั้ง "'''โรงเรียนลวะศรี'''" ซึ่งเปิดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ณ พระที่นั่งจันทรพิศาล ใน[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]] ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "'''โรงเรียนเทพสตรีวิทยาลัย"''' หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2483]] ได้ย้ายโรงเรียนมาที่ถนนนารายณ์มหาราช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น "'''โรงเรียนสตรีลพบุรี'''" และได้รับการยกฐานะเป็น "'''วิทยาลัยครูเทพสตรี'''" ซึ่งนับเป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2463]] โดยเริ่มการการก่อตั้ง "'''โรงเรียนลวะศรี'''" ซึ่งเปิดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ณ พระที่นั่งจันทรพิศาล ใน[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]] ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "'''โรงเรียนเทพสตรีวิทยาลัย"''' หลังจากนั้น ในปี [[พ.ศ. 2483]] ได้ย้ายโรงเรียนมาที่ถนนนารายณ์มหาราช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น "'''โรงเรียนสตรีลพบุรี'''" และได้รับการยกฐานะเป็น "'''วิทยาลัยครูเทพสตรี'''" ซึ่งนับเป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค


ต่อมา ในวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2536]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูเทพสตรี" เปลี่ยนชื่อเป็น"'''สถาบันราชภัฏเทพสตรี'''"
ต่อมา ในวันที่ [[14 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2536]] [[พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูเทพสตรี" เปลี่ยนชื่อเป็น"'''สถาบันราชภัฏเทพสตรี'''"


และเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระปรมาภิไภยในร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลให้สถาบันราชภัฏเทพสตรีเปลี่ยนสภาพเป็น "'''มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี'''" ตั้งแต่วันที่ [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] จนถึงปัจจุบัน
และเมื่อวันที่ [[9 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงลงพระปรมาภิไภยในร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลให้สถาบันราชภัฏเทพสตรีเปลี่ยนสภาพเป็น "'''มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี'''" ตั้งแต่วันที่ [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2547]] จนถึงปัจจุบัน


== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
'''ตรามหาวิทยาลัย''' เป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า " THEPSATRI RAJABHAT UNIVERSITY"
'''ตรามหาวิทยาลัย''' เป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรที่พระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า " THEPSATRI RAJABHAT UNIVERSITY"


== หน่วยงาน ==
== หน่วยงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:28, 23 มิถุนายน 2562

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ชื่อเดิมโรงเรียนลวะศรี
ชื่อย่อมรท. / TRU
คติพจน์มหาวิทยาลัยทันสมัย ใส่ใจคุณภาพทุกด้าน มีมาตรฐานระดับสากล ประชาชนพึ่งพาได้
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
สถาปนาพ.ศ. 2463
นายกสภาฯวิชัย ศรีขวัญ
อธิการบดีผู้ช่วยศาสตราจารย์ จินตนา เวชมี[1]
อธิการบดีผู้ช่วยศาสตราจารย์ จินตนา เวชมี[1]
ที่ตั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
เลขที่ 321 ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000
หน่วยจัดการศึกษานอกที่ตั้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดสิงห์บุรี
เลขที่ 14/3 หมู่2 ตำบลสระแจง อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 16130
สี   กรมท่า - เขียว
เว็บไซต์www.tru.ac.th

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (อังกฤษ: Thepsatri Rajabhat University) เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค[2] ตั้งอยู่ที่ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

ประวัติ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 โดยเริ่มการการก่อตั้ง "โรงเรียนลวะศรี" ซึ่งเปิดสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ณ พระที่นั่งจันทรพิศาล ในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนเทพสตรีวิทยาลัย" หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2483 ได้ย้ายโรงเรียนมาที่ถนนนารายณ์มหาราช พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนสตรีลพบุรี" และได้รับการยกฐานะเป็น "วิทยาลัยครูเทพสตรี" ซึ่งนับเป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค

ต่อมา ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อ "วิทยาลัยครู" มีผลให้ "วิทยาลัยครูเทพสตรี" เปลี่ยนชื่อเป็น"สถาบันราชภัฏเทพสตรี"

และเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้ทรงลงพระปรมาภิไภยในร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีผลให้สถาบันราชภัฏเทพสตรีเปลี่ยนสภาพเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน

สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย

ตรามหาวิทยาลัย เป็นรูปวงรีสองวงล้อมตราพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรที่พระราชทานให้แก่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภายในวงรีด้านบนเป็นอักษรภาษาไทยเขียนว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี" ด้านล่างเป็นอักษรภาษาอังกฤษเขียนว่า " THEPSATRI RAJABHAT UNIVERSITY"

หน่วยงาน

  • คณะวิทยาการจัดการ
  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • คณะครุศาสตร์
  • คณะวิทยาศาสตร์
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • คณะเกษตรศาสตร์(โครงการจัดตั้ง)
  • วิทยาลัยการพยาบาลและสุขภาพ (โครงการจัดตั้ง)
  • โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

วิทยาเขตและศูนย์การเรียน

วิทยาเขต

  • วิทยาเขตสิงห์บุรี ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยขออนุญาตใช้พื้นที่ราชพัสดุจากกรมธนารักษ์ จำนวน 51 ไร่ บริเวณหมู่ 10 ตำบลพักทัน อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และได้มีการก่อสร้างอาคารเรียนหลังแรก เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ปัจจุบันเปิดทำการสอนทั้งภาคปกติ และภาค กศ.บป.[3]

ศูนย์การเรียน

อ้างอิง

  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/049/21.PDF
  2. ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
  3. ประวัติวิทยาเขตสิงห์บุรี
  4. "มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีเปิดรับสัมครนักศึกษา ภาคพิเศษ". Eduzone. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ประวัติการก่อตั้งศูนย์การศึกษาเดิมบางนางบวช". มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี อำเภอเดิมบางนางบวช. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "มรภ.เทพสตรีปลื้มขยายศูนย์การศึกษาที่อ่างทอง". สนุกดอตคอม. 17 มีนาคม พ.ศ. 2551. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น