ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
หัวใจไร้ข้อแม้ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง
{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง|election_name=การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533|country=กรุงเทพมหานคร|type=presidential|ongoing=no|previous_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528|พ.ศ. 2528]]|next_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|พ.ศ. 2535]]|election_date=7 มกราคม 2533|turnout=|image1=[[ไฟล์:10จำลอง.jpg|70px]]|nominee1='''[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]'''|party1=[[พรรคพลังธรรม]]|popular_vote1='''703,671'''|image2=|nominee2=[[เดโช สวนานนท์]]|party2=[[พรรคประชากรไทย]]|popular_vote2=283,777|title=ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร|before_election=[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]|before_party=กลุ่มรวมพลัง|after_election=[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]|after_party=[[พรรคพลังธรรม]]}}{{กล่องข้อมูล การเลือกตั้ง
| election_name = การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539
|election_name=การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539
|country=กรุงเทพมหานคร
| country = ไทย
| type = presidential
|type=presidential
| ongoing = ไม่
|ongoing=no
| previous_election = การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535
|previous_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2535|พ.ศ. 2535]]
|next_year=[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543|พ.ศ. 2543]]
| previous_year = พ.ศ. 2535
|election_date=2 มิถุนายน 2539
| next_election = การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543
|turnout=
| next_year = พ.ศ. 2543
|image1=[[ไฟล์:พิจิตต รัตตกุล1.gif|70px]]
| seats_for_election =
|nominee1='''[[พิจิตต รัตตกุล]]'''
| election_date = [[2 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2539]]
|party1=กลุ่มมดงาน
|popular_vote1='''768,994'''
|image2=[[ไฟล์:Chamlong Srimuang 2008-12-27.jpg|70px]]
|nominee2=[[จำลอง ศรีเมือง|พลตรี จำลอง ศรีเมือง]]
|party2=[[พรรคพลังธรรม]]
|popular_vote2=514,401
|image3=[[ไฟล์:Krisada_aroon01.jpg|70px]]
|nominee3=[[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]]
|party3=[[พรรคประชากรไทย]]
|popular_vote3=244,002
|title=ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
|before_election=[[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]]
|before_party=[[พรรคพลังธรรม]]
|after_election=[[พิจิตต รัตตกุล]]
|after_party=กลุ่มมดงาน
}}


| image1 = [[ไฟล์:พิจิตต รัตตกุล1.gif|150px]]
| nominee1 = [[พิจิตต รัตตกุล]]
| party1 = ผู้สมัครอิสระ
| party_colour= no
| nominee_seat1 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| last_election1 = —
| seats1 = 768,994
| seat_change1 = —
| popular_vote1 = 768,994
| percentage1 = 43.53%

| image2 = [[ไฟล์:Chamlong Srimuang 2008-12-27.jpg|150px]]
| nominee2 = [[จำลอง ศรีเมือง|พล.ต.จำลอง ศรีเมือง]]
| party2 = พรรคพลังธรรม
| party_colour= no
| nominee_seat2 = ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
| last_election2 = —
| seats2 = 514,401
| seat_change2 = —
| popular_vote2 = 514,401
| percentage2 = 33.09 %

| title = ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
| before_election = [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]]
| before_party = ผู้สมัครอิสระ
| after_election = [[พิจิตต รัตตกุล]]
| after_party = ผู้สมัครอิสระ
}}
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจาก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ได้ดำรงตำแหน่ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539
'''การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539''' นับเป็น '''[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เป็นครั้งที่ 5''' สืบเนื่องจาก [[กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา|ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา]] ได้ดำรงตำแหน่ง [[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539



รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:57, 23 มิถุนายน 2562

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2535 2 มิถุนายน 2539 พ.ศ. 2543 →
  ไฟล์:พิจิตต รัตตกุล1.gif ไฟล์:Krisada aroon01.jpg
ผู้ได้รับเสนอชื่อ พิจิตต รัตตกุล พลตรี จำลอง ศรีเมือง ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา
พรรค กลุ่มมดงาน พรรคพลังธรรม พรรคประชากรไทย
คะแนนเสียง 768,994 514,401 244,002

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครก่อนการเลือกตั้ง

ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา
พรรคพลังธรรม

ว่าที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

พิจิตต รัตตกุล
กลุ่มมดงาน

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2539 นับเป็น การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นครั้งที่ 5 สืบเนื่องจาก ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ได้ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ครบวาระ (2535-2539) จึงจัดให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

สถานการณ์ก่อนการเลือกตั้ง

สืบเนื่องจาก การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปี 2535 และ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา จาก พรรคพลังธรรม ได้รับการเลือกตั้ง

บัดนี้ ครบวาระการดำรงตำแหน่ง จึงเห็นสมควรให้มีการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เสียใหม่ โดยกำหนดจัดการเลือกตั้ง ในวันที่ 2 มิถุนายน 2539

ผู้สมัครรับเลือกตั้ง

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีผู้สมัครลงรับเลือกตั้งทั้งหมด 16 คน ทั้งที่สังกัดพรรคการเมืองและไม่สังกัดพรรคการเมือง โดยมีผู้สมัครที่น่าสนใจ อาทิ:[1]

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ได้มีผู้สมัครทั้งสังกัดพรรคการเมืองและอิสระ ได้แก่ ดร.พิจิตต รัตตกุล ผู้สมัครอิสระ ที่เคยลงเลือกตั้งมาแล้วในปี พ.ศ. 2535 ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์, และนายอากร ฮุนตระกูล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) กรุงเทพมหานคร พรรคพลังธรรม ซึ่งลงอิสระ ขณะที่ พลตรี จำลอง ศรีเมือง อดีตผู้ว่าฯ 2 สมัย ก็ได้ตัดสินใจลงรับสมัครอีกครั้ง เป็นสมัยที่ 3 ในสังกัดพรรคพลังธรรม ส่วน ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา อดีตผู้ว่าฯ ซึ่งเดิมสังกัดพรรคพลังธรรมนั้น เมื่อ พล.ต.จำลอง ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งพรรคประสงค์จะลงสมัคร จึงจำเป็นต้องหลีกทางออกมา ประจวบกับทางพรรคประชากรไทยของ นายสมัคร สุนทรเวช ยังไม่มีตัวผู้สมัครที่เหมาะสม จึงได้เชิญ ร.อ.กฤษฎา มาลงสมัครในนามพรรค แต่ไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกพรรคแต่อย่างใด

โดยการเลือกตั้งมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน ปีเดียวกัน ผลการเลือกตั้ง ปรากฏว่า ดร.พิจิตต ที่หาเสียงโดยชูนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และต้านมลพิษทางอากาศ ได้รับเลือกด้วยคะแนน 768,994 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.53[3] ขณะที่ พล.ต.จำลอง ที่เคยชนะมาแล้วอย่างถล่มทลายเมื่อปี พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2533 ได้คะแนน 514,401 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 33.09

อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ออกมาใช้สิทธิคิดเป็นร้อยละ 51 มากกว่าครั้งที่ผ่าน ๆ มา โดยมีปรากฏการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้น ได้แก่ แม้ว่าฝนจะตกหนัก และบางครอบครัวที่ได้เดินทางออกไปเที่ยวยังต่างจังหวัด ก็รีบกลับมาให้ทันการลงคะแนน อีกทั้งยังมีการสำรวจคะแนนความนิยมจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ บ่งชี้ว่า ดร.พิจิตต จะได้รับเลือกไปด้วยคะแนนเสียงขาดลอย ซึ่งผลก็ออกมาจริงตามนั้น ถึงขนาดที่คอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์บางรายได้เขียนแสดงความยินดีต่อ ดร.พิจิตต ล่วงหน้า[4]

อ้างอิง