ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักราชของญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
ชื่อศักราชสี่ชื่อที่ใช้มาตั้งแต่สิ้น[[ยุคเอโดะ]]เมื่อ ค.ศ. 1868 สามารถย่อโดยใช้อักษรโรมันตัวแรก เช่น S55 หมายถึง Shōwa 55 คือ ปีโชวะที่ 55 (ตรงกับ ค.ศ. 1980) หรือ H22 หมายถึง Heisei 22 คือ [[ปีเฮเซ]]ที่ 22 (ตรงกับ ค.ศ. 2010)
ชื่อศักราชสี่ชื่อที่ใช้มาตั้งแต่สิ้น[[ยุคเอโดะ]]เมื่อ ค.ศ. 1868 สามารถย่อโดยใช้อักษรโรมันตัวแรก เช่น S55 หมายถึง Shōwa 55 คือ ปีโชวะที่ 55 (ตรงกับ ค.ศ. 1980) หรือ H22 หมายถึง Heisei 22 คือ [[ปีเฮเซ]]ที่ 22 (ตรงกับ ค.ศ. 2010)


ศักราชที่ยาวนานที่สุด คือ โชวะ ซึ่งกินเวลา 62 ปีกับ 2 สัปดาห์ ส่วยศักราชปัจจุบัน คือ [[เรวะ]] ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019<ref name=reiwaannouncement>{{Citation|url=https://youtube.com/watch?v=n1VLtaSsYk4|title=Reiwa Nengō Announcement Footage|date=2019-04-01|}}</ref>
ศักราชที่ยาวนานที่สุด คือ โชวะ ซึ่งกินเวลา 62 ปีกับ 2 สัปดาห์ ส่วนศักราชปัจจุบัน คือ [[เรวะ]] ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019<ref name=reiwaannouncement>{{Citation|url=https://youtube.com/watch?v=n1VLtaSsYk4|title=Reiwa Nengō Announcement Footage|date=2019-04-01|}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:34, 19 มิถุนายน 2562

ชื่อศักราช (ญี่ปุ่น: 年号/元号 nengō/gengō) เป็นหนึ่งในสองสิ่งที่ใช้ระบุปีตามปฏิทินญี่ปุ่น อีกสิ่งหนึ่ง คือ เลขศักราช เช่น "ปีโชวะที่ 1" ประกอบด้วย ชื่อศักราช คือ "โชวะ" และเลขศักราช คือ "1"

การใช้ชื่อศักราชเช่นนี้ก็เหมือนกับที่อื่น ๆ ในเอเชียตะวันออก คือ ได้รับอิทธิพลมาจากชื่อศักราชจีน แต่การตั้งชื่อศักราชญี่ปุ่นใช้วิธีการคนละอย่างกับในระบบจีน, ระบบเกาหลี, และระบบเวียดนาม นอกจากนี้ ญี่ปุ่นยังเป็นที่เดียวที่ยังใช้ชื่อศักราชอยู่

ชื่อศักราชสี่ชื่อที่ใช้มาตั้งแต่สิ้นยุคเอโดะเมื่อ ค.ศ. 1868 สามารถย่อโดยใช้อักษรโรมันตัวแรก เช่น S55 หมายถึง Shōwa 55 คือ ปีโชวะที่ 55 (ตรงกับ ค.ศ. 1980) หรือ H22 หมายถึง Heisei 22 คือ ปีเฮเซที่ 22 (ตรงกับ ค.ศ. 2010)

ศักราชที่ยาวนานที่สุด คือ โชวะ ซึ่งกินเวลา 62 ปีกับ 2 สัปดาห์ ส่วนศักราชปัจจุบัน คือ เรวะ ซึ่งเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019[1]

อ้างอิง

  1. Reiwa Nengō Announcement Footage, 2019-04-01 {{citation}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |1= (help)