ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัมลูก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า มามลุค ไปยัง มัมลูก
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
เหตุการณ์สำคัญที่นำไปสู่การก้าวขึ้นมามีอำนาจของมัมลูก คือ การเกิดขึ้นของชนชั้นทหารอัศวินมัมลูกในอียิปต์สมัยยุคกลาง ซึ่งพัฒนามาจากกลุ่มทหารทาส อัศวินมัมลูกเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นทาสชาวตุรกี, [[ชาวคอปต์]]จากอียิปต์, [[ชาวเซอร์แคชเชีย]] (Circassians), ชาวอับคาเซีย (Abkhazians) และชาวจอร์เจีย นอกจากนี้ มัมลูกจำนวนมากมีแหล่งต้นกำเนิดจากบอลข่าน (แอลเบเนีย, กรีก และยูโกสลาฟ) "ปรากฏการณ์มัมลูก" หรือการเกิดขึ้นของชนชั้นนักรบมุสลิมนี้มีความสำคัญทางการเมืองมาก ในช่วง 1,000 ปี นับจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref>{{cite book|first=David|last=Ayalon|authorlink=David Ayalon|title=The Mamlūk military society|year=1979|publisher=Variorum Reprints|isbn=978-0-86078-049-6}}</ref>
เหตุการณ์สำคัญที่นำไปสู่การก้าวขึ้นมามีอำนาจของมัมลูก คือ การเกิดขึ้นของชนชั้นทหารอัศวินมัมลูกในอียิปต์สมัยยุคกลาง ซึ่งพัฒนามาจากกลุ่มทหารทาส อัศวินมัมลูกเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นทาสชาวตุรกี, [[ชาวคอปต์]]จากอียิปต์, [[ชาวเซอร์แคชเชีย]] (Circassians), ชาวอับคาเซีย (Abkhazians) และชาวจอร์เจีย นอกจากนี้ มัมลูกจำนวนมากมีแหล่งต้นกำเนิดจากบอลข่าน (แอลเบเนีย, กรีก และยูโกสลาฟ) "ปรากฏการณ์มัมลูก" หรือการเกิดขึ้นของชนชั้นนักรบมุสลิมนี้มีความสำคัญทางการเมืองมาก ในช่วง 1,000 ปี นับจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref>{{cite book|first=David|last=Ayalon|authorlink=David Ayalon|title=The Mamlūk military society|year=1979|publisher=Variorum Reprints|isbn=978-0-86078-049-6}}</ref>


เมื่อเวลาผ่านไปมัมลูกก็กลายเป็นชนชั้นทหารอัศวินที่มีอิทธิพลทางการทหารในหลาย ๆ ประเทศที่ถูกปกครองโดยผู้ปกครองชาวมุสลิม โดยเฉพาะในอียิปต์ แต่ในแถบตะวันออกกลาง เมโสโปเตเมีย และอินเดีย พวกมัมลูกถืออำนาจทั้งในทางการเมืองและการทหาร และในบางกรณีพวกเขาบรรลุถึงระดับได้ครองตำแหน่งสุลต่าน หรือได้ถืออำนาจในระดับภูมิภาคเป็นอะมีร (emir) หรือเบย์ (beys) ที่โดดเด่นที่สุด คือ การที่กลุ่มมัมลูกสามารถครองตำแหน่งสุลต่านโดยมีศูนย์กลางที่อียิปต์และซีเรีย และปกครองดินแดนเหล่านั้นภายใต้ระบอบสุลต่านมัมลูก (ค.ศ. 1250–1517) รัฐบาลสุลต่านมัมลูกมีชัยชนะเหนือ[[อิลคาเนท]]ใน[[ยุทธการที่ไอน์จาลุต]] ก่อนหน้านี้พวกเขาต่อสู้กับพวกครูเซดคริสเตียนจากยุโรปตะวันตกในปี ค.ศ. 1154–1712 และ ค.ศ. 1213–1221 ซึ่งทำให้พวกมัมลูกต้องถูกขับออกจากอียิปต์และตะวันออกกลาง ใน ค.ศ. 1302 พวกมัมลูกสามารถการขับไล่พวกครูเซดกลุ่มสุดท้ายออกจากลิแวนต์ได้อย่างเป็นทางการ และนำไปสู่การสิ้นสุดยุคสงครามครูเสด<ref>{{cite web|last=Asbridge|first=Thomas|title=The Crusades Episode 3|url=https://www.bbc.co.uk/iplayer/episode/b01bqy7r/The_Crusades_Victory_and_Defeat/|publisher=BBC|accessdate=5 February 2012}}</ref>
เมื่อเวลาผ่านไปมัมลูกก็กลายเป็นชนชั้นทหารอัศวินที่มีอิทธิพลทางการทหารในหลาย ๆ ประเทศที่ถูกปกครองโดยผู้ปกครองชาวมุสลิม โดยเฉพาะในอียิปต์ แต่ในแถบตะวันออกกลาง เมโสโปเตเมีย และอินเดีย พวกมัมลูกถืออำนาจทั้งในทางการเมืองและการทหาร และในบางกรณีพวกเขาบรรลุถึงระดับได้ครองตำแหน่งสุลต่าน หรือได้ถืออำนาจในระดับภูมิภาคเป็นอะมีร (emir) หรือเบย์ (beys) ที่โดดเด่นที่สุด คือ การที่กลุ่มมัมลูกสามารถครองตำแหน่งสุลต่านโดยมีศูนย์กลางที่อียิปต์และซีเรีย และปกครองดินแดนเหล่านั้นภายใต้ระบอบสุลต่านมัมลูก (ค.ศ. 1250–1517) รัฐบาลสุลต่านมัมลูกมีชัยชนะเหนือ[[จักรวรรดิข่านอิล]]ใน[[ยุทธการที่ไอน์จาลุต]] ก่อนหน้านี้พวกเขาต่อสู้กับพวกครูเซดคริสเตียนจากยุโรปตะวันตกในปี ค.ศ. 1154–1712 และ ค.ศ. 1213–1221 ซึ่งทำให้พวกมัมลูกต้องถูกขับออกจากอียิปต์และตะวันออกกลาง ใน ค.ศ. 1302 พวกมัมลูกสามารถการขับไล่พวกครูเซดกลุ่มสุดท้ายออกจากลิแวนต์ได้อย่างเป็นทางการ และนำไปสู่การสิ้นสุดยุคสงครามครูเสด<ref>{{cite web|last=Asbridge|first=Thomas|title=The Crusades Episode 3|url=https://www.bbc.co.uk/iplayer/episode/b01bqy7r/The_Crusades_Victory_and_Defeat/|publisher=BBC|accessdate=5 February 2012}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:11, 19 มิถุนายน 2562

นักรบมัมลูกชาวอียิปต์

มัมลูก (อาหรับ: مملوك, "ทรัพย์สิน") เป็นสมาชิกของกลุ่มทหารที่เป็นอดีตทาสที่ได้รับอิสระ โดยมีบทบาทรับใช้ผู้ปกครองมุสลิมมาหลายยุคหลายสมัย

เหตุการณ์สำคัญที่นำไปสู่การก้าวขึ้นมามีอำนาจของมัมลูก คือ การเกิดขึ้นของชนชั้นทหารอัศวินมัมลูกในอียิปต์สมัยยุคกลาง ซึ่งพัฒนามาจากกลุ่มทหารทาส อัศวินมัมลูกเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นทาสชาวตุรกี, ชาวคอปต์จากอียิปต์, ชาวเซอร์แคชเชีย (Circassians), ชาวอับคาเซีย (Abkhazians) และชาวจอร์เจีย นอกจากนี้ มัมลูกจำนวนมากมีแหล่งต้นกำเนิดจากบอลข่าน (แอลเบเนีย, กรีก และยูโกสลาฟ) "ปรากฏการณ์มัมลูก" หรือการเกิดขึ้นของชนชั้นนักรบมุสลิมนี้มีความสำคัญทางการเมืองมาก ในช่วง 1,000 ปี นับจากคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19[1]

เมื่อเวลาผ่านไปมัมลูกก็กลายเป็นชนชั้นทหารอัศวินที่มีอิทธิพลทางการทหารในหลาย ๆ ประเทศที่ถูกปกครองโดยผู้ปกครองชาวมุสลิม โดยเฉพาะในอียิปต์ แต่ในแถบตะวันออกกลาง เมโสโปเตเมีย และอินเดีย พวกมัมลูกถืออำนาจทั้งในทางการเมืองและการทหาร และในบางกรณีพวกเขาบรรลุถึงระดับได้ครองตำแหน่งสุลต่าน หรือได้ถืออำนาจในระดับภูมิภาคเป็นอะมีร (emir) หรือเบย์ (beys) ที่โดดเด่นที่สุด คือ การที่กลุ่มมัมลูกสามารถครองตำแหน่งสุลต่านโดยมีศูนย์กลางที่อียิปต์และซีเรีย และปกครองดินแดนเหล่านั้นภายใต้ระบอบสุลต่านมัมลูก (ค.ศ. 1250–1517) รัฐบาลสุลต่านมัมลูกมีชัยชนะเหนือจักรวรรดิข่านอิลในยุทธการที่ไอน์จาลุต ก่อนหน้านี้พวกเขาต่อสู้กับพวกครูเซดคริสเตียนจากยุโรปตะวันตกในปี ค.ศ. 1154–1712 และ ค.ศ. 1213–1221 ซึ่งทำให้พวกมัมลูกต้องถูกขับออกจากอียิปต์และตะวันออกกลาง ใน ค.ศ. 1302 พวกมัมลูกสามารถการขับไล่พวกครูเซดกลุ่มสุดท้ายออกจากลิแวนต์ได้อย่างเป็นทางการ และนำไปสู่การสิ้นสุดยุคสงครามครูเสด[2]

อ้างอิง

  1. Ayalon, David (1979). The Mamlūk military society. Variorum Reprints. ISBN 978-0-86078-049-6.
  2. Asbridge, Thomas. "The Crusades Episode 3". BBC. สืบค้นเมื่อ 5 February 2012.